ความรับผิดทางอาญาของผู้บังคับบัญชากรณีผู้ใต้บังคับบัญชา บังคับให้บุคคลสูญหาย

Main Article Content

นันทพร กันเฉย

บทคัดย่อ

การบังคับให้บุคคลสูญหายเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพที่กระทำโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ แม้ว่ากฎหมายไทยจะมีบทบัญญัติลงโทษผู้กระทำความผิดในความผิดต่อเสรีภาพและความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการกระทำความผิดแล้ว
แต่ไม่สามารถลงโทษผู้บังคับบัญชาที่ปล่อยให้ผู้ใต้บังคับบัญชาของตนกระทำความผิดโดยตรง จึงควรกำหนดความรับผิดทางอาญาของผู้บังคับบัญชากรณีผู้ใต้บังคับบัญชาบังคับให้บุคคลสูญหายหากผู้บังคับบัญชานั้นมีส่วนรู้เห็นหรือมีส่วนผิดในการละเลยหน้าที่ โดยกำหนดความผิดฐานบังคับให้บุคคลสูญหายและความผิดฐานผู้บังคับบัญชาขึ้นใหม่

Article Details

บท
Articles

References

หนังสือ

ปกป้อง ศรีสนิท. คำอธิบายกฎหมายอาญาระหว่างประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เดือนตุลา, น.164.
Lisa Ott. Enforced Disappearance in International Law. United Kingdom : Intersentia Ltd, 2011, p.237.
Gideon Boas. James L. Bischoff. Natalie L. Reid. Forms of Responsibility in International Criminal Law, Cambridge U.K : Cambridge University Press, 2007. p.144.
Elies van Sliedregt. Individual Criminal Responsibility in International Law. New York : Oxford University Press, 2012, p.183.

วิทยานิพนธ์

แววรวี สังขพงษ์. “การกระทำโดยงดเว้น.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527. น.24.

งานวิจัย

ปกป้อง ศรีสนิทและคณะ, “รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องความพร้อมของประเทศไทยต่อการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย”.กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม. 2552, น.1.

เว็บไซต์

Reports of Germany to Committee on Enforced Disappearances. http://www.ohchr.org/_layouts/15/WopiFrame.aspx?sourcedoc=/Documents/HRBodies/CED/Session6/CED-C-DEU-1_en.pdf&action =default&DefaultItemOpen=1