อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การต่อพฤติกรรม เชิงนวัตกรรมของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดสกลนคร อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การต่อพฤติกรรม เชิงนวัตกรรมของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดสกลนคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับของปัจจัยเชิงสาเหตุ ได้แก่ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ และพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดสกลนคร และ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุ ได้แก่ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดสกลนคร ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดสกลนคร จำนวน 345 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า
1) ผลการศึกษาระดับระดับของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงอยู่ในระดับมาก ระดับของการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การอยู่ในระดับมาก และระดับของพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของพนักงานองค์กรปกครองส่วนอยู่ในระดับมาก
2) ผลการศึกษอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุ พบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมในระดับสูง ร้อยละ 38.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .000 และการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมในระดับสูงมาก ร้อยละ 49.70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .000 และปัจจัยสาเหตุสามารถร่วมกันทำนายระดับพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับทำนายสูงมากร้อยละ 68.20
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
คัชพล จั่นเพชร และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2559). อิทธิพลของการรับรู้ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพที่
ส่งผลต่อการปฏิบัติงานเชิงสร้างสรรค์ผ่านความไว้วางใจบนพื้นฐานอารมณ์ความรู้สึกและความรู้ความเข้าใจ. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 11(1). 125 - 135.
โชติกา จันทร์อุ่ย. (2562). พฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของพนักงานเจอเนอเรชั่นวายการไฟฟ้า
ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา.
นฤมล จิตรเอื้อ และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2561). การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การที่ส่งผลต่อ
พฤติกรรมการทำงานอย่างสร้างสรรค์และผลการปฏิบัติงานเชิงนวัตกรรมผ่านความผูกพันต่อองค์การด้านจิตใจของอาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. 14(2). 349 - 380.
ทรงยศ อรัญยกานนท์. (2557). ภาวะผู้นำกับการสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อนวัตกรรมการบริการขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ.
นรชัย ณ วิเชียร และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2561). ปัจจัยชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรม
การเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพยาบาลประจำหอผู้ป่วย โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช. วารสารการจัดการสมัยใหม่. 16(1). 101 - 116.
ประเวช ชุ่มเกสรกูลกิจ และศรีมาศ ณ วิเชียร. (2561). พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงาน: แนวคิด ปัจจัยเชิงสาเหตุ ความท้าทาย. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 10(1). 25 – 41.
เปขณางค์ ยอดมณี. (2558). การพัฒนาโมเดลปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถเชิงสร้างสรรค์ของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดาฎีบัณฑิต การจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. ฉะเชิงเทรา.
ภาวิณี ลักขษร และกฤชวรรธน์ โล่วัชรินทร์. (2562). เงื่อนไขการเกิดนวัตกรรมขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์.
(2). 109 – 126.
รัชชพงษ์ ชัชวาล. (2560). โมเดลสมการโครงสร้างพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมของ
พนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ของประเทศไทย : ทดสอบความไม่
แปรเปลี่ยนข้ามประเภทองค์การ. วิทยานิพนธ์. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต การจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2550). กฎหมายการปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
Chinelo Helen Ogwuche, Daniel Adakole Urama and Joseph Iaana Nyam. (2019).
Influence of Organizational culture and justice on employee job
performance among private organization in Makurdi Metropolis. Ife PsychologIA. 27(1). 36 - 44.
Cohen, J. (1988). Statistical Power and Analysis for the Behavioral Sciences. (2nded). Hillsdale, New Jersey: Lawrence Erlbaum.
Ghran, Laith Ali Zgair, Jameel, Alaa S and Ahmad, Abd Rahman. (2020). The Effect
of Organizational Justice on Job Satisfaction among Secondary School Teachers. International Journal of Psychosocial Rehabilitation. 24(3). 14757192.
Hui Li, Nazir Sajjad, Qun Wang, Asadullah Muhammad Ali, Zeb Khaqan and
Shafi Amina. (2019). Influence of Transformational Leadership on Employees’ Innovative Work Behavior in Sustainable Organizations: Test of Mediation and Moderation Processes. Sustainability, 11. 1594; doi:10.3390/su11061594.
King, N. & West, M. A.. (2002). Experiences of Innovation at work. Journal of Managerial Psychology. 2(3). 6 – 10.
Leech, N. L; Barrett, K. C. and Morgan, G. A. (2005). SPSS for Intermediate Statistics: Use And Interpretation. (2nded). Mahwah, New Jersey: Lawrence Erlbaum.
Taghipour, A., & Dezfuli, Z. K. (2013). Innovative behaviors: Mediate mechanism of
job attitudes. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 84, 1617-1621.
Woocheol Kim & Jiwon Park. (2017). Examining Structural Relationships between
Work Engagement, Organizational Procedural Justice, Knowledge Sharing, and Innovative Work Behavior for Sustainable Organizations. Sustainability. 9, 205; doi:10.3390/su9020205
Yongping Xie. (2018). Leadership style and innovation atmosphere in enterprises:
An empirical study. Technological Forecasting and Social Change.
(October 2018). 257 – 265.