การดำเนินงานระบบข้อมูลและสารสนเทศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1
คำสำคัญ:
การดำเนินงาน, ระบบข้อมูล, สารสนเทศบทคัดย่อ
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1.) เพื่อศึกษาระดับการดำเนินงานระบบข้อมูลและสารสนเทศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 1 2.) เพื่อเปรียบเทียบการระดับดำเนินงานระบบข้อมูลและสารสนเทศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 1 จำแนกตามสถานภาพและขนาดสถานศึกษากลุ่มตัวอย่าง จำนวน 180คนจำแนกเป็นสถานศึกษาขนาดเล็ก106คน ขนาดกลาง52 คน ขนาดใหญ่ 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67- 1.00 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t – test แบบ Independent samples)และทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า
- ระดับการดำเนินงานระบบข้อมูลและสารสนเทศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต1 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
- ผลการเปรียบเทียบระดับดำเนินงานระบบข้อมูลและสารสนเทศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 1 ใน 6 ด้าน จำแนกตามสถานภาพแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
- ผลการเปรียบเทียบระดับดำเนินงานระบบข้อมูลและสารสนเทศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 1 ใน 6 ด้าน จำแนกตามขนาดสถานศึกษาแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01เมื่อพิจารณารายคู่พบว่าสถานศึกษาขนาดใหญ่กับกลางและเล็กแตกต่างกัน
References
ชัชวาลย์ วงษ์ปรเสริฐ.(2548). การดำเนินงานสารสนเทศเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม ศรีสะอ้าน. (2553). การวิจัยเบื้องต้น ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 7 แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สุรีวิยาสาสน์.
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.(2536).การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศสื่อ
การสอนในศูนย์วิชาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2546).รายงานการศึกษาระบบการจัดเก็บข้อมูล
ทางการศึกของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กลิ่นร่ำ เจริญธุระเดช. (2550). “การศึกษาการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดระการของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำปาง เขต 2”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราช- ภัฏลำปาง.
จินดาวรรณ คะสีทอง. (2549). “การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาการจัดระบบสารสนเทศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2”. วิทยานิพนธ์ครุศา
นันทนา บริรักษ์.(2550). “การดำเนินงานระบบสารสนเทศของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาอมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่”. การค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา,
บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปริชาติ ฤาชากูล. (2553). “การดำเนินงานระบบข้อมูลและสารสนเทศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 3”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยอีสาน
ประภาพรรณ จันโอทาน. (2547). “สภาพและปัญหาการดำเนินงานการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดมหาสารคาม”. การค้นคว้าแบบอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เพลินพิศ หยาดผกา. (2548). “การจัดการระบบสารสนเทศของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนสุนันทา.
สมศักดิ์ สมบัติอักษร.(2549). “การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิต
วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.