ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา
คำสำคัญ:
ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา, การศึกษาบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์นำเสนอขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา เพื่อให้มีขั้นตอนการวิจัยที่เป็นระบบและชัดเจน มีกระบวนการพัฒนาและตรวจสอบประเมินคุณภาพการศึกษา โดยค้นพบที่นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรม ทางการศึกษาใหม่ ที่เรียกว่า นวัตกรรมทางการศึกษา ที่สะท้อนให้เห็นถึงเทคนิคหรือวิธีการเพื่อการปฏิบัติด้วย ซึ่งขั้นตอนกระบวนการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา ประกอบด้วย 1) การสำรวจ วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการ 2) การออกแบบพัฒนานวัตกรรม โดยการกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนแล้ว และกำหนดกรอบแนวคิดของกระบวนการเรียนรู้ 3) การทดลองใช้นวัตกรรม โดยการนำนวัตกรรมทดลองไปใช้ในชั้นเรียนจริง มีรูปแบบการประเมินที่ชัดเจน และสรุปผลการทดลองใช้ และ 4) การเผยแพร่นวัตกรรม นำเสนอนวัตกรรมได้รับการยอมรับและถูกนำไปใช้
References
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน.กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่ง สินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
ขวัญชัย ขัวนา. (2561). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21. สืบค้นจาก https://research.kpru.ac.th/research2/pages/filere/29482019-09-07.pdf.,สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2565.
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2554). นวัตกรรม. สืบค้นจาก https://dictionary.orst.go.th/, สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2564.
วราภรณ์ วราธิพร. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. สืบค้นจาก /http://grad.vru.ac.th/Database_thesis/thesis/file_pdf/full_54G74680102.pdf, สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2565.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการแสงอีสาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.