การบริหารจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมโดยใช้โครงสร้างซีท โรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วมสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4
คำสำคัญ:
การบริหารจัดการศึกษา / โครงสร้างซีท / โรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วมบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมโดยใช้โครงสร้างซีท โรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมโดยใช้โครงสร้างซีท โรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำแนกตาม ตำแหน่ง ประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมโดยใช้โครงสร้างซีท โรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 สามารถนำมาอภิปรายผลโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ( =4.29) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อันดับ 1 คือ ด้านนักเรียน (S-Students) ค่าเฉลี่ย( =4.37) รองลงมาคือด้านกิจกรรมการเรียนรู้ (A-Activities) ค่าเฉลี่ย ( =4.33) รองลงมาคือด้านสภาพแวดล้อม (E-Environment) ค่าเฉลี่ย ( =4.24) และด้านเครื่องมือ (T-Tools) ค่าเฉลี่ย ( =4.22) พบว่าอยู่ที่ระดับมาก2) ผู้บริหารสถานศึกษาและครู ที่มีตำแหน่งและประสบการณ์การทำงานต่างกัน โดยรวม มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมโดยใช้โครงสร้างซีท โรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อพิจารณาจากตำแหน่งต่างกัน พบว่า ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ (A-Activities) แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อพิจารณาจากประสบการณ์การทำงานต่างกัน พบว่า ด้านนักเรียน (S – Students) แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับพุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ :กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2553. กรุงเทพฯ :กระทรวงศึกษาธิการ.
นางสาวตรีนุช เทียนทอง. (2564). คำแถลงนโยบายการจัดการศึกษา. สืบค้นจาก https://www.obec.go.th/wp- content, สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2564.
ชนกภัทราณัฐ ข้าวหอม. (2563). การบริหารจัดการโดยใช้โครงสร้างซีท (SEAT) ของโรงเรียนรวมสำหรับนักเรียนที่ มีความบกพร่องทางการเห็นในเขตพื้นที่ภาคกลาง. วิทยานิพนธ์ ศึกษาสตรมหาบัณฑิต,การบริหารการศึกษา,มหาวิทยาลัย หาดใหญ่.
ธีระพงษ์ พรมกุล. (2558). สภาพการบริหารการจัดการเรียนร่วมโดยใช้โครงสร้างซีท (SEAT) เป็นฐานในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, การบริหารการศึกษา,มหาวิทยาลัยบูรพา.
นภัส เสือสิงห์. (2556). การศึกษาปัญหาการบริหารการจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนแกนนำการจัดการเรียนร่วมตามโครงสร้างซีท (SEAT FRAMEWORK) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม.วิทยานิพนธ์ ศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต,การบริหารการศึกษา,มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
เบญจา ชลธาร์นนท์. (2544). การศึกษาแบบเรียนรวม. กรุงเทพฯ: เพทายการพิมพ์.
เพ็ญศรี เจริญสุข. (2558). การบริหารโรงเรียนเรียนร่วมภายใต้โครงสร้างซีท ของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล.วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต,การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
สมยศ พวงเกตุแก้ว. (2558). การบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนให้กับเด็กที่มีความต้องการพิเศษเรียนร่วมภายใต้โครงสร้างซีทในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพฯมหานคร.วิทยานิพนธ์ ศึกษาสตรมหา บัณฑิต,การบริหารการศึกษา,มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
สุภาวิณี ลุสมบัติ. (2558). การประเมินโครงการโรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชรเขต 1.วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต,บริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราช ภัฏกำแพงเพชร.
สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. (2564). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. พิมพ์ครั้งที่ 4, กรุงเทพฯ :สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.
อนุวรรตน์ ช่างหล่อ. (2561). การบริหารการจัดการเรียนร่วมโดยใช้โครงสร้างซีท (SEAT) ของโรงเรียนจัดการเรียน ร่วมสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1.วิทยานิพนธ์ศึกษาสตรมหาบัณฑิต,การบริหารการศึกษา,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Cronbach, Lee. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed). New York : HarperCollins Publishers. 202-204.
Krejcie, R.V., & D.W. Morgan. (1970). “Determining Sample Size for Research Activities”.Educational and Psychological Measurement. 30(3) : 607-610.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการแสงอีสาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.