การปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์: การรู้จักตัวเองของนักสังคมสงเคราะห์

ผู้แต่ง

  • sopha poothai -Mahamakut Buddhist Univesity

คำสำคัญ:

การรู้จักตัวเอง; การปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์; นักสังคมสงเคราะห์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรู้จักตนเองของนักสังคมสเคราะห์ การรู้จัดตนเองเป็นสิ่งสำคัญในการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์เพื่อจะได้ทำงานบรรลุเป้าหมายและสำเร็จ พบว่า การรู้ตนเอง ประกอบด้วย 1. การรู้จักตนเองตามหลักสัปปุริสธรรม หมายถึง ธรรมของสัตบุรุษ คือ อัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จัก ชาติตระกูล ยศศักดิ์ สมบัติ บริวาร ความรู้และคุณธรรมของตน แล้วประพฤติตนให้เหมาะสมควรตามนั้น 2. การรู้จักตนเองผ่านทฤษฎีหน้าต่างของโจฮารี นักสังคมสงเคราะห์ควรใช้บานหน้าต่างหัวใจบานที่ 1 ให้มาก คือ คนอื่นรู้ เรารู้ ซึ่งเป็นบริเวณเปิดเผย และทำลายหรือลดพฤติกรรมในบานหน้าต่างหัวใจบานที่ 2 คือ คนอื่นรู้ เราไม่รู้ ซึ่งเป็นบริเวณจุดบอด เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ให้กับบานหน้าต่างหัวใจบานที่ 1 แผ่ขยายเข้ามาจะทำให้มีบริเวณกว้างมากขึ้น และ 3. การรู้จักตนเองด้านองค์ประกอบของความเป็นนักสังคมสงเคราะห์ที่ดี ได้แก่ 1) มีความรู้ ในการทำงาน 2) มีทัศนคติ ที่ดีต่องานที่ทำ 3) มีทักษะ ในการทำงาน และ 4) ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ในการทำงาน ได้แก่1) จรรยาบรรณต่อตนเอง 2) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 3) จรรยาบรรณต่อผู้ใช้บริการ (บุคคล กลุ่ม ชุมชน) 4) จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมวิชาชีพและผู้ร่วมงานในวิชาชีพอื่น5) จรรยาบรรณต่อองค์กรที่สังกัดและ6) จรรยาบรรณต่อสังคม

References

ข้อบังคับสภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. 2562.(2562). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนพิเศษ 67 ง, หน้า 31-33.

ถวิล ธาราโภชน์และศรัณย์ดำริสุข. (2546). พฤติกรรมมนุษย์กับพัฒนาตน. พิมพ์ครั้งที่ 4.

กรุงเทพฯ : บริษัท อักษราพิพัฒน์จำกัด.

นันทนีย์ ไชยสุต. (2525). ความรู้เบื้องต้นของการสังคมสงเคราะห์. เอกสารประกอบการ ศึกษาอบรมหลักสูตรการศึกษาอบรมเสริมความรู้ทางสังคมศาสตร์ประยุกต์ สำหรับ ประชาชน,คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

นิสิตา อังกุล. (2552). การศึกษาปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อทักษะชีวิตของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3สังกัดกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต,การวิจัยและสถิติทางการศึกษา,กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หน้า5.

ปรีชา วิหคโต. (2546). “การเข้าใจตนเอง” ในเอกสารการสอนชุดวิชาทักษะชีวิต เล่มที่ 1 หน่วยที่6 สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, หน้า 45.

ปิยะนาฏ สิทธิฤทธิ์. (2549). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีผลต่อการตระหนักรู้ตนเองของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2. ปริญญา นิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต,การวิจัยและสถิติทางการศึกษา, กรุงเทพฯ :บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,หน้า 18

พรรณพิมล หล่อตระกูล, พนม เกตุมาน และ พรรณีแสงชูโต. (2548). คู่มือสำหรับบุคลากร

สุขภาพจิตในการดูแลช่วยเหลือเด็กที่ประสบภัยพิบัติ. กรุงเทพฯ: เอ็กซ์ปอร์ต อิมปอร์ตแอนด์ไอที,หน้า 4.

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).(2532). สนทนาโดยกลุ่มนักสังคมสงเคราะห์ จากกรม

ประชาสงเคราะห์และกรมการแพทย์, ณ สถานพำนักสงฆ์ศาลากลางสระ อำเภอลำลูกกาจังหวัดปทุมธานี, วันที่ 18 กุมภาษพันธ์ พ.ศ. 2532.

พระราชบัญญัติ วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. 2556. (2556). ราชกิจจานุเบกษา.

เล่ม 130 ตอนที่ 8 ก. หน้า 1-17,สืบค้นจาก: http://law.m- society.go.th/law2016/uploads/lawfile/20151019_15_11_36_5272.pdf, สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2565.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. นัย. ม. อุป. 14/112,ที.ปา. 11/331/264; 439/312,องฺ. สตฺตก. 23/113,องฺ.สตฺตก.23/65/114,กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วรเทพ เวียงแก. (2555). เอกสารประกอบการสอน วิชา SO1052 หลักและวิธีการสังคม

สงเคราะห์ (Principles and Social Work Methodology). สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, คณะสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน.

__________. (2562). เอกสารประกอบการสอน วิชา SO1234 สังคมสงเคราะห์ในกระบวนการยุติธรรม (Social Work in Criminal Justice Process). สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน.

__________. (2564). เอกสารประกอบการสอน วิชา SO1215 การให้การปรึกษาทางสังคมสงเคราะห์ (Social Work Counseling). สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยวิทยาเขตอีสาน.

ศุภรัตน์ อิ่มวัฒนกุล. (2552).ผลของการประยุกต์ใช้โปรแกรมทักษะชีวิตร่วมกับการสนับสนุนจากผู้ปกครอง (5’ A) เพื่อป้องการการสูบบุหรี่ในวัยรุ่นชุมชนแออัด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพยาบาลสาธารณสุข, บัณฑิต วิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล,หน้า 12

ษมาพร ศรีอิทยาจิต. (2548). การวิเคราะหความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาจังหวัดนครนายก.ปริญญานิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต,การวิจัยและสถิติทางการศึกษา,กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หน้า 6

Adele B, Lynn. (2005). THE EQ Difference : a powerful program for putting

emotional intelligence to work. New York, NY : Amacom.

Covey, S.R. (2007). The 7 Habits of Highly Effective People. Personal Workbook.Firesider, New York, p.149.

Goleman, Daniel. (2007). The difference kinds of empathy. New York : BantamBooks,p.53.

International Federation of Social Workers (IFSW).(20222) Social Work Profession Definition.,สืบค้นจาก https://hmong.in.th/wiki/International_Federation_of_Social_Workers,

สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2565.

Richard West,Lynn H. Turner.(2009).Understanding Interpersonal Communication: Making Choices in Changing Times. 2nd . USA : Nelson Education, Ltd.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-29