การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ด้วยการเรียนรู้ผสมผสาน แบบสร้างสรรค์เป็นฐานโดยการเล่านิทาน สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาล3 โรงเรียนพระกุมารเยซูขอนแก่น
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปฏิบัติการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ด้วยการเรียนรู้ผสมผสานแบบสร้างสรรค์เป็นฐานโดยการเล่านิทาน 2) เพื่อศึกษาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนด้วยการเรียนรู้ผสมผสานแบบสร้างสรรค์เป็นฐานโดยการเล่านิทานและ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ด้วยการเรียนรู้ผสมผสานแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน โดยการเล่านิทาน กลุ่มเป้าหมายการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นอนุบาล 3 โรงเรียนพระกุมารเยซูขอนแก่น จำนวน 26 คน ซึ่งเป็นการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบันทึกอนุทินของผู้เรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ แบบบันทึกการจัดการเรียนรู้ ใบงานกิจกรรมเล่านิทาน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า 1) การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ร่วมกับการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานโดยการเล่านิทาน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) กระตุ้นความสนใจ 2) ตั้งปัญหาและแบ่งกลุ่มตามความสนใจ 3) ค้นคว้าและคิด 4) นำเสนอ 5) ประเมินผล โดยแต่ละขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู้เป็นการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ นำไปสู่การค้นคว้าหาความรู้ เชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเองเพิ่มสูงขึ้น 2) ผลการศึกษาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนมีระดับความคิดสร้างสรรค์อยู่ในระดับมาก และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในครั้งนี้อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ( = 4.53, S.D. = 0.53)
References
กรรณิการ์ สุขุม. (2533). การศึกษาความคิดสร้างสรรค์และความสามารถในการสังเกตของเด็ก
ปฐมวัยที่ได้รับการเล่นสรรค์สร้าง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชาการศึกษา ปฐมวัย, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ขจรพงษ์ ร่วมแก้ว. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบเปิดตามแนวคิดคอนเน็คติวิสต์ซึม
เพื่อส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต,
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา, คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ชีวิน ตินนังวัฒนะ. (2555). ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning)
เรื่องอาหารและสารอาหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทร
วิโรฒ, ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน 2555, หน้า 89 - 96.
ไพศาล วรคำ. (2559). การวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 8). มหาสารคาม: ตักสิลาการพิมพ์.
วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (2558). การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน Creativity-based Learning(CBL) .วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้, ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2558, หน้า 23 - 37.
วิมลพรรณ จูฑะพงศ์ธรรม. (2561). การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์โดยการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับเว็บสนับสนุนรายวิชา วิชาการใช้งานโปรแกรมกราฟิก สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา, คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
บุญชม ศรีสะอาด. (2547).วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 6).กรุงเทพฯ: สุวีริยสาส์น.
มงคล เรียงณรงค์ และลัดดา ศิลาน้อย. (2558). การวิจัยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (CBI) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชา ส 21103 สังคมศึกษา 2. ขอนแก่น: วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ปีที่ 38 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2558, หน้า 141 - 148.
เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). การบริหารและการนิเทศการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ:
เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.
สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์. (2560). กระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานในกระบวนวิชา CEE2205
(ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็ก). วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2560, หน้า 1 - 8.
สัณหพัฒน์ อรุณธารี. (2542). นิทานสำหรับเด็กปฐมวัย. ภูเก็ต: โครงการตำราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติ. โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย, คณะครุศาสตร์, สถาบันราชภัฏภูเก็ต.
อารี รังสินันท์. (2532). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
Guilford, J. P. (1959). Fundamental statistics in psychology and education. New York: McGraw-Hill,
Jellen, H.G. & Urban, K.K. (1989). Assessing Creative Potential World-wide: The First cross – cultural Application of the Test for Creative Thinking-drawing Production (TCT-DP). Gifted Education International, 6(2), p. 78 – 86.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการแสงอีสาน Saeng-Isan Academic Journal ISSN:3027-6152(Print), ISSN:3027-6160(Online)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.