ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ และ 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ จําแนกตามเพศและประสบการณ์ การทำงาน กลุ่มเป้าหมายการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวนทั้งหมด 70 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( = 4.35 ) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ทุกด้าน อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านการทำงานร่วมกัน ( = 4.48) ด้านการพัฒนานวัตกรรม ( = 4.33 ) ด้านวิสัยทัศน์ ( = 4.32 ) ด้านการสื่อสาร ( = 4.30 ) และด้านความเข้าใจในการใช้ดิจิทัล ( = 4.30 ) 2) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ จำแนกตามเพศ พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีเพศต่างกัน มีภาวะผู้นำดิจิทัลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีภาวะผู้นำดิจิทัลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05
References
ชีวิน อ่อนละออ และคณะ. (2563). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลสำหรับนักบริหารการศึกษา. สืบค้นจาก https://casjournal.cas.ac.th/detiajournal.php?id=895&position3=1&position=10,
สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2564.
ณัฏฐณิชา พรปทุมชัยกิจ. (2564). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2564, หน้า 60 – 62.
ณัฏฐิตา สงค์แก้ว. (2565). ภาวะผู้นําดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553).การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
มูฮำหมัดรุซลัน ลือบากะลูติง และ นิรันดร์ จุลทรัพย์. (2564). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตรัง. รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติครั้งที่ 13, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
สุชญา โกมลวานิช. (2563). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อนุชิต โฉมศรี. (2562). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลขอโรงเรียน มาตรฐานสากลในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Cronbach, L. J. (1970). Essentials of psychological testing. 3rd ed. New York: Harper & Row.
Digital Marketing Institute. (2018). The Most In-Demand Skills in Digital Leadership. สืบค้นจาก https://digitalmarketinginstitute.com/blog/the-most-in-demand- skills- in- digital-leadership. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2564
Esther Shein. (2021). 7 Skills of Successful Digital. สืบค้นจาก Leadershttps://www.cio.com/article/189078/skills-of-successful-digital- leaders.html, สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2564.
GDS. (2022). What are Digital Leadership Skills. สืบค้นจาก https://gdsgroup.com/insights/article/what-is-digital-leadership/ สืบค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2564
Pakorn AJ Leesakul. (2018). Leadership in Digital Era. สืบค้นจาก https://l1nq.com/WoM6K, สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2564
Staff Writer. (2022). How to Achieve Five Competencies of Effective Digital Leaders. สืบค้นจาก https://www.smartsheet.com/content-center/executive- center/digital-transformation/how-achieve-five-competencies-effective-digital- leaders, สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2564.
Schmidt, E., & Cohen, J. (2013). The new digital age: Reshaping the future of people, nations and business. London, UK: John Murray
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการแสงอีสาน Saeng-Isan Academic Journal ISSN:3027-6152(Print), ISSN:3027-6160(Online)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.