เทคโนโลยีซินโดรม:ปัญหาสุขภาพของคนยุคไอทีที่ไม่ควรไม่ข้าม
คำสำคัญ:
เทคโนโลยีซินโดรม, ปัญหาสุขภาพ, มือถือและอุปกรณ์บทคัดย่อ
ปัจจุบันอุปกรณ์เทคโนโลยีต่างๆ มีการสร้างมาเพื่ออำนวยความสะดวกมากมาย แต่ในขณะเดียวกันอุปกรณ์เทคโนโลยีเหล่านี้ก็ส่งผลกระทบต่อผู้ที่ใช้งานได้เช่นเดียวกัน สาเหตุหลักของอาการทางดวงตา สายตาและอาการเมื่อยล้าของร่างกาย ได้แก่ อาการตาแดง ตาซ้ำ ตาล้า ตาแห้ง และระคายเคือง ล้วนเกิดมาจากการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีที่ผู้ใช้จ้องหน้าจอคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน แท๊บเล็ต โน้ตบุคเป็นเวลานานๆ บทความนี้จึงได้นำเสนอปัจจัยที่ส่งผลให้อาการเทคโนโลยีซินโดรม ลักษณะอาการของโรคเทคโนโลยีซินโดรม วิธีการรักษาอาการเทคโนโลยีซินโดรมและวิธีการป้องกันการเสพติดเทคโนโลยี ได้แก่ การจำกัดเวลาการใช้งานการหางานอดิเรกทำ ลดการใช้เวลากับโลกออนไลน์ ซื้ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้พอดี การปิดการแจ้งเตือนและการตั้งสติไม่ให้หลงกับตัวตนที่สร้างในโลกออนไลน์
References
ฐาปนวงศ์ ตั้งอุไรวรรณ. (2556). เทคโนโลยีซินโดรม เสี่ยงทำลายสุขภาพ. สืบค้น 1 ธันวาคม 2561, จาก http://www.safetylamphun.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539519047&Ntype=10
ฐิฏิมา เลิศอุดมทรัพย์. (2557). นวัตกรรมการแนะนำวิธีนวดบรรเทาอาการออฟฟิศซินโดรมผ่านสมาร์ทโฟน. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
ธันยวงศ์ เศรษฐ์พิทักษ์. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลให้พนักงานออฟฟิศทำงานติดต่อกันเป็นระยะยาวนานและเป็นโรคคอมพิวเตอร์ซินโดรม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศรินรัตน์ โคตะพันธ์ และศุภมาศ จารุจรณ. (2560). โรคออฟฟิศซินโดรมกับศาสตร์การแพทย์แผนไทย. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 12(2). สืบค้น 15 ธันวาคม 2561, จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/PRRJ_Scitech/article/download/92016/83223
โรงพยาบาลบำรุงราษฎ์. (2561). อาการออฟฟิศซินโดรม. สืบค้น 1 ธันวาคม 2561, จาก https://www.bumrungrad.com/th/rehabilitation-clinic-sathorn/conditions/office-syndromes
ภัคจิรา ภูสมศรี. (2561). โรคคอมพิวเตอร์ชันซิโดรมหรือโรคซีพีวีเอส ปัญหาสุขภาพใกล้ตัวที่ไม่ควรมองข้าม.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทริน์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 12(2). สืบค้น 16 พฤศจิกายน 2561, จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSci/article/download/134714/105627
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ผลการวิจัยและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความ ถือเป็นความคิดเห็นและอยู่ในความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ มิใช่ความเห็นหรือความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ หรือมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากการพิมพ์
บทความที่ได้รับการเผยแพร่โดยวารสาร มมร วิชาการล้านนาถือเป็นสิทธิ์ของวารสารฯ