ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสมรรถนะ
คำสำคัญ:
ขั้นตอนการพัฒนา, หลักสูตรสมรรถนะบทคัดย่อ
บทความทางวิชาการเรื่องขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสมรรถนะ หมายถึง กระบวนการพัฒนาบุคคล โดยใช้หลักสูตรแบบสมรรถนะประกอบด้วย วิเคราะห์สมรรถนะ/โมเดลสมรรถนะ เลือกสมรรถนะที่จะจัดทำหลักสูตร กำหนดสมรรถนะย่อยและจัดลำดับ กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้/การฝึกอบรมตามสมรรถนะ กำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้/การฝึกอบรม กำหนดแนวทางการประเมินผล จัดทำหลักสูตรตามกระบวนการหลักสูตรสมรรถนะ จัดทำแผนการเรียนรู้ สำหรับผู้เรียน/ผู้เข้าอบรม แผนการสอนสำหรับครู/แผนการฝึกอบรมสำหรับผู้ให้การอบรม ดำเนินการจัดการเรียนรู้/ฝึกอบรม ตามแผนการฝึกอบรม และ ประเมินการเรียนรู้/การฝึกอบรม
References
กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา. (2563). หลักสูตรฐานสมรรถนะ. นครปฐม: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2.
คุณวุฒิวิชาชีพไทย. (2554). ความหมายของสมรรถนะ. สืบค้น 1 มีนาคม 2563, จาก http://www.thaivq.org/index.php?option=com_content&view=article&id=44:joomla-security-strike-team&catid=1:latest-news&Itemid=50
ชัชรินทร์ ชวนวัน. (2553ก). คู่มือการพัฒนาหลักสูตรสมรรถนะ: CBC Development Manual. นครปฐม: สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา.
ชัชรินทร์ ชวนวัน. (2553ข). คู่มือการพัฒนาโมเดลสมรรถนะ: Competency Model Development Manual. นครปฐม: สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา.
ชัชรินทร์ ชวนวัน. (2555). คู่มือหลักสูตรการพัฒนานักบริหารระดับกลางตามหลักสมรรถนะ : สป.ศธ. นครปฐม: สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา.
สำนักทดสอบทางการศึกษา. (2557). คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 มมร วิชาการล้านนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลการวิจัยและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความ ถือเป็นความคิดเห็นและอยู่ในความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ มิใช่ความเห็นหรือความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ หรือมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากการพิมพ์
บทความที่ได้รับการเผยแพร่โดยวารสาร มมร วิชาการล้านนาถือเป็นสิทธิ์ของวารสารฯ