นวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาด้วยหลักสามัคคีธรรมสู่การพัฒนาศักยภาพชุมชน
คำสำคัญ:
นวัตกรรม, ศาสตร์พระราชา, หลักสามัคคีธรรม, การพัฒนาศักยภาพชุมชนบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงนวัตกรรมการน้อมนำศาสตร์พระราชาด้วยหลักสามัคคีธรรมสู่การพัฒนาศักยภาพชุมชน ซึ่งนวัตกรรมในทีนี้ ได้แก่ การแก้ปัญหาปากท้อง และการพัฒนาที่ไม่สมดุลกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีฐานคิดในการกำหนดทุกมาตรการ รวมทั้งเน้นการมีส่วนรวมของชุมชน และผู้ที่ได้รับผลกระทบ โดยการสร้างความเข้มแข็งในระดับฐานรากเป็นสำคัญ ทั้งนี้เศรษฐกิจฐานรากจะเป็นเสาเข็มที่มั่นคงให้กับระบบเศรษฐกิจของชาติ ในภาพรวม มีการสร้างงาน สร้างรายได้ กระจายการพัฒนาไปสู่ภูมิภาค โดยการกำหนดกลุ่มจังหวัดและเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง สารสนเทศ พลังงาน น้ำ รองรับการพัฒนาต่าง ๆ ดังกล่าว อย่างมียุทธศาสตร์ ภายใต้หลักการ “เข้าใจ เข้าถึงและพัฒนา” เข้าใจ คือ เข้าใจสภาพภูมิประเทศและมนุษย์ เข้าถึง คือ เข้าถึงภูมิสังคมและข้อมูลเพื่อให้การสร้างสรรค์นั้นตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนา คือ กำหนดเป็นแนวทางการพัฒนาด้วยความรู้และภูมิปัญญาที่ไม่จำกัดอยู่เพียงมิติใดมิติหนึ่ง โดยมีชุมชนเป็นฐาน จะทำให้ชุมชนเกิดประโยชน์ต่าง ๆ โดยโครงสร้างชุมชนและการมีระบบสาธารณูปโภคที่ดีผู้นำที่เข้มแข็ง ชุมชนมีเป้าหมายร่วมกันความเชื่อ สิ่งแวดล้อม และวิถีชีวิต ระบบเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้การยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล ส่งผลให้ชุมชนมีความสามัคคีและอยู่ร่วมกันได้อย่างราบรื่น
References
คณะกรรมการโครงการเฉลิมพระเกียรติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ. (2560). ศาสตร์ของพระราชา: ผู้นำโลกในการพัฒนาอย่างยั่งยืน. คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. https://dl.parliament.go.th/backoffice/viewer2300/web/viewer.php
ประเวศ วะสี. (2541). ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจสังคมและศีลธรรม. สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.
ปัณณพงศ์ วงศ์ณาศรี และวีรนุช พรมจักร์. (2563). ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาท้องถิ่น. วารสารปัญญา, 27(2), 139-146.
พระครูสุนทรเขมาภินันท์ และคณะ. (2562). ศาสตร์พระราชา : พุทธบูรณาการแห่งนวัตกรรมศาสตร์สมัยใหม่เพื่อ สังคมไทยทุกระดับ. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 20(37), 87-101.
พระธรรมปิฎก (ป.อ ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 10). เอส. อาร์พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์.
ภูสิทธ์ ภูคำชะโนด. (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา SIM2110 เศรษฐกิจสังคมตามแนวพระราชดำริ (Social-Economics under the Royal Initiatives). ภาควิชาสังคมศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ภูสิทธ์ ภูคำชะโนด. (2564). ศาสตร์พระราชา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. https://elfhs.ssru.ac.th/phusit_ph/pluginfile.php/42/block_html/content/บทที่%205%20ศาสตร์พระราชา.pdf
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
สมโภชน์ สุวรรณรัตน, สุวิญ รักสัตย์, สุมานพ ศิวารัตน์, และโสภณ ขำทัพ. (2560). การสร้างความสามัคคีในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบด้วยหลักพุทธธรรม. วารสารสมาคมนักวิจัย, 22(2), 191-203.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2562). 5 อันดับสุดยอดองค์กรที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม. https://www.nia.or.th/5ID
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ศาสตร์กษัตริย์. สำนัก.
Tantivejkul, S. (2011). National Development His Majesty the King. Diamond Printing Center.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มมร วิชาการล้านนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลการวิจัยและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความ ถือเป็นความคิดเห็นและอยู่ในความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ มิใช่ความเห็นหรือความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ หรือมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากการพิมพ์
บทความที่ได้รับการเผยแพร่โดยวารสาร มมร วิชาการล้านนาถือเป็นสิทธิ์ของวารสารฯ