กรรม การเกิดใหม่และสังสารวัฏตามหลักพุทธปรัชญา

ผู้แต่ง

  • บุษราภรณ์ บุญเอียด มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
  • พระเมธีวชิราภิรัต มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช
  • สุปรีชา ชำนาญพุฒิพร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช

คำสำคัญ:

กรรม, การเกิดใหม่, สังสารวัฎ, พุทธปรัชญา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีของกรรม การเกิดใหม่ และสังสารวัฏตามหลักพุทธปรัชญา และ 2) เพื่อการวิเคราะห์ถึงผลกรรม การเกิดใหม่ และสังสารวัฏตามหลักพุทธปรัชญา อ้างอิงจากข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ เช่น พระไตรปิฎกตลอดจนหนังสือจากนักการศาสนาที่มีความรู้ทางพระพุทธศาสนา พบว่า บุคคลที่มีกรรมเป็นของตน การกระทำที่มีเจตนาเป็นตัวกำหนดการกระทำ เมื่อมีเจตนาแสดงการกระทำกรรม ทางกาย วาจา และใจ กระทำกรรมเช่นใดย่อมได้รับผลเช่นนั้น เป็นไปตามกฎ ปฏิจจสมุปบาท คือ กฎแห่งเหตุและผล เรียกว่า “กฎแห่งกรรม” เมื่อทำกรรมดีย่อมทำได้รับผลดี เมื่อทำกรรมชั่วย่อมทำได้รับผลชั่ว ประพฤติปฏิบัติตามหลักพุทธปรัชญาสามารถดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข

References

กรฤทธ์ ปัญจสุนทร. (2561). การแก้กรรมในพทธปรัชญาเถรวาท [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระเทพกิตติปัญญาคุณ (กิตติวุฒโฑ ภิกขุ). (2557). กรรม-และการให้ผลของกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 4). โรงพิมพ์สหธรรมิก.

พระเทพวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวณฺโณ). (2537). กฎแห่งกรรม. โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2545). เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม (พิมพ์ครั้งที่ 2).สหธรรมิก.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). สู่การศึกษาแนวพุทธ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กระทรวงศึกษาธิการ.

พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร). (2545). กรรมทีปนี เล่ม 1. สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.

พระมหาชลัน ภูริวฑฺฒโน (ชลันรัตน์). (2561). การศึกษาวิเคราะห์วิบากกรรมของบุคคลตามที่ปรากฏในอรรถกถาธรรมบท. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา, 9(2), 69-81. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBS/article/view/159976

พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). คำวัด: พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). ช่อระกา.

พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2533). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. ดอกหญ้า.

พุทธทาสภิกขุ. (2540). กรรม การเกิดใหม่ สังสารวัฎ. มูลนิธิพระดุลยพากย์สุวมัณฑ์-ฉลวย-ทิพวรรณ ปัทมสถาน.

มหามกุฎราชวิทยาลัย. (2525). พระไตรปิฎก และอรรถกถา เล่มที่ 11. โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

แม่ชีจำเรียง กำเนิดโทน. (2560). ความเชื่อเรื่องกรรมและการให้ผลของกรรมตามหลักคำสอนในพระพุทธศาสนาเถรวาท. วารสารปรัชญาปริทรรศน์, 22(2), 86-98. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/phiv/article/view/243290

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (พิมพ์ครั้งที่ 2). อักษรเจริญทัศน์.

สุนทร ณ รังสี. (2543). พุทธปรัชญาจากพระไตรปิฏก (พิมพ์ครั้งที่ 2). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุนทร ณ รังสี. (2548). พุทธปรัชญาเถรวาท. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Klostermaier, K. K. (2010). A survey of hinduism (3nd ed.). New York Press.

Juergensmeyer, M. & Roof, W. C. (2011). Encyclopedia of Global Religion. Sage publications.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-28