รูปแบบการพัฒนานวัตกรรมการบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานครที่มีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
รูปแบบการพัฒนานวัตกรรม, ยุคดิจิทัล, การบริการสาธารณะ, กรุงเทพมหานครบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนานวัตกรรมการบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร และเสนอแนะรูปแบบการพัฒนานวัตกรรมการบริหารสาธารณะของกรุงเทพมหานครที่มีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลจากผู้ใช้บริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร จำนวน 600 คนสุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอ้างอิง และพิสูจน์สมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ SEM
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนานวัตกรรมการบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานครประกอบด้วย ปัจจัยด้านการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม ปัจจัยด้านความสามารถเชิงนวัตกรรม และปัจจัยด้านการมีนวัตกรรมการบริการส่งผลต่อรูปแบบการพัฒนานวัตกรรมการบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานครที่มีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
References
วัฒนชัย ศิริญาณ, วิทยา เจริญศิริ, และสัญญา เคณาภูมิ. (2560). องค์กรแห่งนวัตกรรม: ทางเลือกใหม่สำหรับการพัฒนาในศตวรรษที่ 21. อินฟอร์เมชั่น, 24(2), 72-80.
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2562). พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2562. สภากรุงเทพมหานคร. https://bmc.go.th/wp-content/uploads/2020/05/02-พระราชบัญญัติ.pdf
Caldwell, D. F., & O'Reilly, C. A. III. (2003). The determinants of team-based innovation in organizations. The role of social influence. Small Group Research, 34(4), 497–517. https://doi.org/10.1177/1046496403254395
Giannopoulou, E., Gryszkiewicz, L., & Barlatier, P. J. (2014). Creativity for service innovation: a practice-based perspective. Managing Service Quality, 24(1), 23-44.
Gremyr, I., Witell, L., Löfberg, N., Edvardsson, B., & Fundin, A. (2014). Understanding new service development and service innovation through innovation modes. Journal of Business & Industrial Marketing, 29(2), 123-131.
Guan, J., & Ma, N. (2003). Innovative capability and export performance of Chinese firms. Technovation, 23(9), 737-747. https://doi.org/10.1016/S0166-4972(02)00013-5
Pundt, A., Martins, E., & Nerdinger, F. W. (2010). Innovative behavior and the reciprocal exchange between employees and organizations. German journal of Human Resource Management, 24(2), 173-193.
Ryu, K., Lee, H., & Gon Kim, W. (2012). The Influence of the Quality of the Physical Environment, Food, and Service on Restaurant Image, Customer Perceived Value, Customer Satisfaction, and Behavioral Intentions. International Journal of Contemporary Hospitality Management, 24, 200-223. https://doi.org/10.1108/09596111211206141
Schneider. (1990). Behavioral assumptions of policy tools. The journal of politics, 52(2), 510-529.
Williams, Chuck. (2008). Effective management: a multimedia approach (3rd ed.). Thomson South-Western.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มมร ล้านนาวิชาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลการวิจัยและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความ ถือเป็นความคิดเห็นและอยู่ในความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ มิใช่ความเห็นหรือความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ หรือมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากการพิมพ์
บทความที่ได้รับการเผยแพร่โดยวารสาร มมร วิชาการล้านนาถือเป็นสิทธิ์ของวารสารฯ