การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาหน้าที่พลเมือง เรื่อง สังคมของเรา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้กรณีศึกษา (Case Study)
คำสำคัญ:
การพัฒนา, ผลสัมฤทธิ์, รายวิชาหน้าที่พลเมืองบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้กรณีศึกษา 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใช้กรณีศึกษา เป็นงานวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนชัยบาดาลพิทยาคม อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 21 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 12 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 30 ข้อ และแบบวัดความพึงพอใจแบบมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 15 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผลการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ได้แผนทั้งหมด 12 แผน การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ( = 20.50, S.D. = 2.31) สูงกว่าก่อนเรียน ( = 14.50, S.D. = 2.03) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการศึกษาความพึงพอใจหลังการใช้กรณีศึกษา พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.85, S.D. = 1.50)
References
ชลธิชา สุรัตนสัญญา, ฐานนันท์ มณีกุล, วานิช ทองเกตุ, สิริพัฒน์ รันดาเว, สุรเดช สุวรรณชาตรี, และเอกฉัตร วิทยอภิบาลกุล. (2561). การพัฒนาเทคนิคการสอนโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์สำหรับนิสิตหลักสูตรนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช
ทิศนา แขมมณี (2564). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี (พิมพ์ครั้งที่ 25). ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). สุวิริยาสาสน์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). ประสานการพิมพ์.
ปุณยนุช พรมเพ็ชร. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษาจากสื่อในชีวิตประจำวัน เรื่อง กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคลที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2553). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 11). สุวิริยาสาส์น.
วิจิตรา กุสุมภ์ และอรุณี เฮงยศมาก. (2562). ผลของการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษาเป็นฐานต่อความคงทนในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 8(1), 187-196.
วิชญา นรถี (2562). การพัฒนาการคิดวิเคราะห์วิชาสังคมศึกษาโดยใช้กรณีศึกษานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต]. แหล่งข้อมูลทางปัญญามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต. https://libdoc.dpu.ac.th/thesis/Wichaya.Nor.pdf.
สุพรรณี กัณหดิลก, ตรีชฎา ปุ่นสำเริง, และชุติมา มาลัย. (2562). การออกแบบการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา เพื่อส่งเสริมผลลัพธ์การเรียนรู้ในภาคปฏิบัติ. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 39(4), 129-137. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/nur-psu/article/view/233385
สุมนา จันทราช และกรธวัฒน์ สกลคฤหเดช. (2562, 26-28 มิถุนายน). การใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักศึกษาบริหารธุรกิจ. ใน การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 4 และการประชุมระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 1 [Symposium]. การยกระดับงานวิจัยเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน. โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพมหานคร.
อภิชญาวีร์ จันทรเขตต์ และวารีรีตน์ แก้วอุไร. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษาจากสื่อในชีวิตประจำวัน เรื่อง พฤติกรรมการบริโภค เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดไตร่ตรอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 24(4), 194-204. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/246681
อรรถพงษ์ ผิวเหลือง. (2563). การจัดการเรียนรู้ภาพพจน์โดยใช้กรณีตัวอย่าง. วารสารวิชาการแสงอีสาน, 17(2), 26-39. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/jsi/article/view/244873
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of Psychological Testing (5th ed.). Harper Collins Publishers.
Kuder, G. F., & Richardson, M. W. (1937). The Theory of The Estimation of Test Reliability. Psychometrika, 2(3), 151-160.
Likert, R. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading in Fishbeic, M. (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). Wiley & Son.
Melo, A. J., Hernandez-Maestro, R. M., & Munoz-Gallego, P. A. (2017). Service Quality Perception, online Visibility, and Business Performance in Rural Lodging Establishments. Journal of Travel Research, 56(2), 250-262.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มมร ล้านนาวิชาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลการวิจัยและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความ ถือเป็นความคิดเห็นและอยู่ในความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ มิใช่ความเห็นหรือความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ หรือมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากการพิมพ์
บทความที่ได้รับการเผยแพร่โดยวารสาร มมร วิชาการล้านนาถือเป็นสิทธิ์ของวารสารฯ