การบริหารจัดการหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาบัณฑิตและท้องถิ่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกระบวนการบริหารจัดการหลักสูตรอุดมศึกษาโดยใช้แนวทางสมดุลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 โดยยกตัวอย่างหลักสูตรปริญญาตรี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ที่มีจุดเน้นในการจัดการศึกษาบัณฑิตและชุมชนในด้านการพัฒนาอาหารท้องถิ่น โดยใช้การบริหารจัดการหลักสูตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับเครื่องมือบริหารองค์กรตามทางสายกลาง เป็นแนวทางดังนี้ หลักความประมาณ คือ การบริหารงานแบบสมดุล 4 ด้าน งบประมาณและทรัพยากร ผู้เรียน กระบวนการภายใน การเรียนรู้และพัฒนา หลักความมีเหตุผล คือ การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของหลักสูตร และหลักการจัดการความเสี่ยง ควบคู่กับองค์ความรู้จากการวิจัยและการบริการวิชาการ พร้อมกับคุณธรรมในการบริหารหลักสูตร การจัดการศึกษาตามแนวทางนี้ก่อให้เกิดคุณภาพบัณฑิตและชุมชน สอดคล้องกับปรัชญาของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ที่ว่า “การศึกษาเป็นหัวใจของการพัฒนาท้องถิ่น”
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). ประกาศกฎกระทรวงเรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. ราชกิจจานุเบกษา, ปีที่ 162 เล่มที่ 135 ตอนพิเศษ เลขที่ 199 ง, 19-21.
กองทัพเรือ. (2557). พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ครูและนักเรียน ที่ได้รับพระราชทานรางวัล วันจันทร์ที่ 27 กรกฎาคม 2524. สืบค้นจาก http://rtnpr.blogspot.com/2014/12/blog-post_52.html
ข่าวช่อง 7. (2563). พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2541. สืบค้นจาก https://news.ch7.com/speech/22/70
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2563). พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม 2541. สืบค้นจาก http://www.kingrama9.chula.ac.th/kings-guidance/172/
ชยางกูร จันหะวัน รุจิรา แหวนนิล และธิปไตย พงษ์ศาสตร์. (2562). การระบุความเสี่ยงด้วย SWOT analysis. สืบค้นจาก http://sc2.kku.ac.th/stat/statweb/images/Eventpic/60/Seminar/02_02_-SWOT-Analysis.pdf
เชียงใหม่นิวส์. (2563). พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันพฤหัสบดีที่ 25 มิถุนายน 2524. สืบค้นจาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/1144700/
นภวรรณ แย้มยุติ และไพรัช วงศ์ศรีตระกูล. (2557). การประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยธนบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 8(17), 15-24.
พิชามญชุ์ ปฐมศิริกุล แจ่มนิดา คณานันท์ และโสรยา คงพิษ. (2543). การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่หลักสูตรระดับอุดมศึกษา. บทความวิชา วป884 สัมมนาเชิงพฤติกรรมสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 1-5. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
เพ็ญพรรณ ชุติวิศุทธิ์. (2553). การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี. วารสารร่มพฤกษ์, 28(2), 145-166.
ภาวนา วิมลกิติชัย. (2561). การศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาการบริหารหลักสูตรตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรให้มีคุณภาพ: กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มศว, 13(2), 109-124.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. (2562). หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หลักสูตรปรับปรุง 2563. เชียงใหม่: ส. การพิมพ์.
มูลนิธิชัยพัฒนา. (2542). เศรษฐกิจพอเพียง. วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา, 22(9), 46-53.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร. (2662). แนวปฏิบัติที่ดีในการเสริมสร้างการเรียนรู้ให้แก่นักศึกษานอกชั้นเรียนผ่านการจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการทางวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม และการนำนักศึกษาไปเรียนรู้นอกสถานที่. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. เชียงใหม่: ส. การพิมพ์.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บริษัท อาร์ แอน์ ปรินท์ จำกัด.
วีณา อ่องแสงคุณ. (2549). การพัฒนารูปแบบการประเมินองค์การแบบสมดุลสำหรับโรงเรียนคาทอลิกอัครสังฆมณฑลกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
ศรประภา พงษ์หัตถาศิลป์. (2557). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
สุภาวดี ดวงจันทร์. (2559). รูปแบบการบริหารความเสี่ยงของงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคใต้. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์).
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2561). แนวทางการส่งเสริมคุณภาพการจัดการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อการประสนงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. (2563). พระราชดำรัสที่ได้พระราชทานแก่ตัวแทนของปวงชนชาวไทยที่ได้เข้าเฝ้าฯ ถวายพระพร เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันพุธที่ 4 ธันวาคม 2534 ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน. สืบค้นจาก http://www.rdpb.go.th/th/King/หลักการทรงงาน-c24/๑๓-ขาดทุนคือกำไร-v9179
อนุชา เสมารัตน์. (2560). ศาสตร์พระราชา. วารสารรัฏฐาภิรักษ์, 59(1), 112-126.
Murano, P. S. (2003). Understanding food science and technology. California, USA: Thomson Learning, Inc.
True ปลูกปัญญา. (2560). พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ณ วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร วันศุกร์ที่ 12 ธันวาคม 2512. สืบค้นจาก https://www.trueplookpanya.com/education/content/62858/-teaartedu-teaar