การสร้างแบบฝึกการใช้นิทานพื้นบ้านของจังหวัดน่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านทุ่งน้อย ตำบลฝายแก้ว อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน

Main Article Content

พระรณชัย สมคำ
สมหวัง อินทร์ไชย
ปฏิพันธ์ อุทยานุกูล

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. สร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ โดยใช้นิทานพื้นบ้านจังหวัดน่าน  2. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านจังหวัดน่าน และ 3. ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านจังหวัดน่าน ประชากรในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 1 ห้องเรียน รวมทั้งหมด 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านจังหวัดน่าน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 7 เล่ม แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 7 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 20 ข้อ และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านจังหวัดน่าน จำนวน 10 ข้อ การเก็บรวบรวมข้อมูลได้ดำเนินการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการใช้แบบฝึกทักษะ จากนั้นจึงทดสอบหลังเรียน (Posttest) แล้วสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. สร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ โดยใช้นิทานพื้นบ้านจังหวัดน่าน  2. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านจังหวัดน่าน และ 3. ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านจังหวัดน่าน ประชากรในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 1 ห้องเรียน รวมทั้งหมด 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านจังหวัดน่าน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 7 เล่ม แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 7 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 20 ข้อ และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านจังหวัดน่าน จำนวน 10 ข้อ การเก็บรวบรวมข้อมูลได้ดำเนินการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการใช้แบบฝึกทักษะ จากนั้นจึงทดสอบหลังเรียน (Posttest) แล้วสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กุหลาบ มัลลิกะมาส. (2551). วรรณคดีวิจารณ์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

จุฬาลักษณ์ กองพิลา. (2553). การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือแบบ SQ3R. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

ฉวีวรรณ คูหาภินนท์. (2542). การอ่านและการส่งเสริมการอ่าน. กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

ฐะปะนีย์ นาครทรรพ. (2549). ภาษาไทยสำหรับครู. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ถวัลย์ มาศจรัส. (2550). นวัตกรรมทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ธารอักษร.

ทัศนีย์ แก้วงาม. (2550). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านเพื่อจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี).

นงคิด พัฒนปฏิธาน. (2553). การพัฒนาสมรรถภาพและความคงทนในการอ่านภาษาไทยโดยใช้แบบฝึก. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

นพพร ธนะชัยขันธ์. (2550). สถิติเบื้องต้นสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีรยาสาส์น.

ประภาพร ถิ่นอ่อง. (2553). การพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร).

ปัทมาวดี วงษ์เกิด. (2555). การวิเคราะห์ความเชื่อเชิงมายาคติเกี่ยวกับช้างที่ปรากฏในนิทานพื้นบ้านไทยกูบ จังหวัดสุรินทร์. (วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต).

ภัทรา แสนหอม. (2561). การพัฒนาผู้เรียนด้านการอ่านจับใจความโดยใช้นิทานพื้นบ้านสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น).

มาลัยวรรณ วิริยะ. (2553). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เทคนิค SQ3R. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

วิชิต สุรัตน์เรืองชัย. (2549). เอกสารประกอบการสอนวิชา 404361 วิธีการสอนทั่วไป (General method of teaching). ชลบุรี: ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2552). นวัตกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย. มหาสารคาม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สวิน ยมหา. (2553). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจของนักเรียน. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยศรีบูรพา).

สายใจ ทองเนียม. (2560). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

สุกัญญา วันชนะ. (2553). การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความภาษาไทย โดยใช้หนังสือนิทานชาดกคำ

กลอน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านกาศเมฆ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง. (การศึกษา

ค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช).

สุนัชานันท์ ทองดี. (2553). ผลการใช้ชุดกิจกรรมการอ่านจับใจความจากนิทานคุณธรรมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนและความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขา

หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี).

สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์. (2549).การอ่านจับใจความ เอกสารการสอนชุดวิชาการอ่านภาษาไทย. สุโขทัย:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุริยา เพ็งลี. (2552). การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคจิ๊กซอว์ (Jigsaw) เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาประถมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).