The Construction of Female Image in Thai Award-Winning Novels in the Year B.E. 2550-2559

Main Article Content

ปรียาดา กุลรินทร์
นราวัลย์ พูลพิพัฒน์
ศรีวิไล พลมณี

Abstract

This research aimed to study the construction of female image in Thai award novels in the year B.E. 2550-2559. The female’s image concept was applied, to analyze content and present through Analytical Description. It was found that there were four type of the construction of female’s image in the nine stories of Thai award-winning in the year B.E. 2550-2559 1) The construction of physical image; it was found that most female characters were ideal: slim shape and good looking. They had the habit, mood and thought as Thai woman in real life: 2) The construction of background image, their families had an important role in personality development: 3) The construction of motivation and attitude image; positive, negative and indifference; it was related to characters’ background. 4) The construction of language and gesture image; the novelists had combined those three images altogether to make it real. As a result, these novel were popular and awarded in the year B.E. 2550-2559.

Article Details

How to Cite
กุลรินทร์ ป., พูลพิพัฒน์ น., & พลมณี ศ. (2018). The Construction of Female Image in Thai Award-Winning Novels in the Year B.E. 2550-2559. Ganesha Journal, 14(1), 123–133. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/pikanasan/article/view/131556
Section
Research Article

References

จริญพร หาญพยัคฆ์. (2554). ภาพลักษณ์และความพึงพอใจในการใช้บริการร้านค้า บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (การศึกษาค้นคว้าอิสระนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย).

ปอรินทร์ เพ็ญศิริ. (2551). การวิเคราะห์รูปแบบการนำเสนอภาพลักษณ์สตรีผ่านภาพโฆษณาในนิตยสารสตรี. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยถาน.

รสริน ดิษฐบรรจง. (2552). การเขียน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

สุภางค์ จันทวานิช. (2557). ทฤษฎีสังคมวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

แสงเดือน วนิชดำรงศักดิ์. (2555). การรับรู้ภาพลักษณ์และคุณภาพบริการ : กรณีศึกษา ธนาคารเกียรตินาคิต สาขากรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, วิชาเอกการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).

อโนชา ศีลาแก้ว. (2550). ภาพลักษณ์ของผู้หญิงเหนือที่สะท้อนให้เห็นในนวนิยายร่วมสมัย. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2550). ภาพแทนผู้หญิงในวรรณกรรมในแบบเรียนลาว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง “คนงาม”. มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 27(3) (ก.ย. – ธ.ค. 2553).

อุษา พัดเกตุ. (2551) สตรีนิยมที่ถูกรื้อร้าง:การสร้างการผนึกกำลังของผู้หญิงในกรงอำนาจผู้ชายในนวนิยายเรื่อง “เมียจ้าว” ของเอมี ทาน. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 5(2) (พ.ค. – ส.ค. 2551).

เอวิตรา ศิระสาตร์. (2553). คู่กรรมกับความคิดของผู้เสพที่มีต่อภาพลักษณ์ของชาวญี่ปุ่นและความเป็นญี่ปุ่น. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).