การโฆษณา: วัฒนธรรมการบริโภคในสังคมไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
ทุกวันนี้เราไม่ได้บริโภคอรรถประโยชน์ของสินค้าแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่เราบริโภคสินค้าเชิงสัญญะไปพร้อมกัน เราใช้มันเพื่อใช้สื่อความหมายถึงตำแหน่งแห่งที่ รสนิยม รูปแบบการใช้ชีวิต รวมไปถึงการสร้างอัตลักษณ์ของผู้บริโภค การที่เราต้องจ่ายเงินในราคาที่สูงมากให้กับสินค้าแบรนด์เนม เนื่องมาจากการนำเสนอสินค้าเหล่านั้นผ่านสื่อระดับโลกนั่นเอง ในบางกรณีที่เราจำเป็นต้องใช้ภาพลักษณ์ระดับโลกเพื่อบ่งบอกว่าเราเป็นใคร อยู่ในสถานภาพใด ระดับสังคมใด เพื่อสื่อความหมายกับผู้ที่พบเห็นเราในแวดวงสังคม การบริโภคสินค้าและบริการต่าง ๆ ของผู้บริโภคมีวัตถุประสงค์บางอย่างที่แตกต่างกันออกไป บางกรณีซื้อสินค้าเพื่อให้ได้รับการยกย่อง เช่น อาหาร เสื้อผ้า เครื่องประดับ รถยนต์ หรือแม้กระทั่งบ้านที่เราอาศัยอยู่ ฯลฯ การโฆษณาจึงได้กลายมาเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการสื่อสารเกี่ยวกับเรื่องทัศนคติและสิ่งอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับตนเอง เพื่อแสดงความ สัมพันธ์ทางสังคมโดยผ่านรูปแบบของการบริโภคสินค้าและบริการต่าง ๆ ซึ่งรูปแบบการบริโภคนี้จะมีความแตกต่างกันไปตามกลุ่มวัฒนธรรมและรูปแบบการดำเนินชีวิต ดังนั้นการโฆษณาจึงมีส่วนสำคัญอย่างมากในการสร้างวัฒนธรรมการบริโภคในสังคมไทย
Article Details
อยู่ระหว่างการปรับปรุง (ลิขสิทธิ์และการรับผิดชอบ)
References
2 โฆษณาผลิตภัณฑ์ผงปรุงรส “รสดี 58”, สืบค้นเมื่อวันที่ 16 เม.ย. 2558, สืบค้นจากhttps://www.youtube. /watch?v=V1Gg45BnD0I
3 กาญจนาภรณ์ พลประทีป, “การบริโภคเชิงตรรกวิทยา ในโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ”, วิทยานิพนธ์ วาสารศาสตรมาหบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.
4 ปัทมวรรณ เนตรพุกกณะ, “การวิเคราะห์ที่อยู่อาศัยเชิงเศรษฐกิจและสังคมโดยการใช้สื่อ”, วิทยานิพนธ์ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
5 กนกศักดิ์ แก้วเทพ, เศรษฐศาสตร์การเมืองของสื่อสารมวลชน, กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546, หน้า 181-182.
6 สินค้า Louis Vuitton a man’s journey; business and leisure, สืบค้นเมื่อ 25 ก.พ. 2557,สืบค้นจาก blog.purentonline.com
7 Featherstone, M., “Cosumer Culture and Postmodernism”, London: SAGE Publications Ltd, 1991.
8 กนกศักดิ์ แก้วเทพ, “เศรษฐศาสตร์การเมืองของสื่อสารมวลชน”, กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546, หน้า 181-182.
9 Baudrillard, J., “The Consumer Society: Myths and Structures”, 1st 1998 by Sage Publications (CA), 1970.
10 Bourdieu, P., “Distinction: A Social Critique of the Judgement of Taste”, Harvard University Press, 1984.
11 Bourdieu, P., “Distinction: A Social Critique of the Judgement of Taste”, London: University Press, 1994.
12 Featherstone, M., “Cosumer Culture and Postmodernism”, London: SAGE Publications Ltd., 1991, pp.15.
13 Featherstone, M.,” Cosumer Culture and Postmodernism”, London: SAGE Publications Ltd., 1991, pp.6.
14 Baudrillard, J., “The Consumer Society: Myths and Structures”, 1st 1998 by Sage Publications (CA), 1970, pp 14-15.
15 กาญจนา แก้วเทพ, “การวิเคราะห์สื่อ: แนวคิดและเทคนิค”, กรุงเทพฯ: บริษัท อินฟินิตี้เพรส จำกัด, 2541, หน้า 131-145.
16 Baudrillard, J., “The Consumer Society: Myths and Structures”, 1st 1998 by Sage Publications (CA), 1970, pp 7.
17 Bourdieu, P., “Distinction: A Social Critique of the Judgement of Taste”, Harvard University Press, 1984.
18 Featherstone, M., “Cosumer Culture and Postmodernism”, London: SAGE Publications Ltd. 1991, pp. 18-19.
19 กนกศักดิ์ แก้วเทพ, “เศรษฐศาสตร์การเมืองของสื่อสารมวลชน”, กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
20 Featherstone, M., “Cosumer Culture and Postmodernism”, London: SAGE Publications Ltd., 1991, pp. 83-86.
21 กนกศักดิ์ แก้วเทพ, “เศรษฐศาสตร์การเมืองของสื่อสารมวลชน”, กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
22 กนกศักดิ์ แก้วเทพ, “เศรษฐศาสตร์การเมืองของสื่อสารมวลชน”, กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
23 กนกศักดิ์ แก้วเทพ, “เศรษฐศาสตร์การเมืองของสื่อสารมวลชน”, กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
24 กนกศักดิ์ แก้วเทพ, “เศรษฐศาสตร์การเมืองของสื่อสารมวลชน”, กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
25 McCracken, G., “Culture and Consumption: New Approaches to The Symbolic Character of Consumer Goods and Activities”, Bloomington: Indiana University Press, 1988, pp. 71-89.
26 อภิญญา เฟื่องฟูสกุล, “แนวความคิดหลักทางสังคมวิทยาเรื่องอัตลักษณ์ (Identity)”, กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2543.
27 McCracken, G., “The Long Interview”, London: SAGE Publications, 1988.
28 กนกศักดิ์ แก้วเทพ, “เศรษฐศาสตร์การเมืองของสื่อสารมวลชน”, กรุงเทพฯ : คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัย, 2546.
29 โฆษณาสถาบันการเงิน ของธนาคารไทยพาณิชย์, “ครั้งแรกเกิดขึ้นได้ทุกวัน”, สืบค้นเมื่อ 25 ก.พ. 2557, สืบค้นจาก http://www.youtube.com/ watch?v=xvfZMEq20oY.
30 โฆษณาที่พักอาศัยของ Perfect Property “คฤหาสน์หรู Perfect Masterpiece บนทำเลที่ดีที่ สุดใจกลางเมือง”, สืบค้นเมื่อ 1 ม.ค. 2557, สืบค้นจาก http://www.youtube.com/watch?v=4DltjynWZ6A
31 กนกศักดิ์ แก้วเทพ, “เศรษฐศาสตร์การเมืองของสื่อสารมวลชน”, กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.