การศึกษาแนวทางการจัดการเรียนการสอนรายวิชาสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กลุ่มภาคกลาง

Main Article Content

ดำเนิน ไชยแสน
จตุพล ยงศร
จักรกฤษณ์ โปณะทอง

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนการสอนรายวิชาสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กลุ่มภาคกลาง ด้วยการประชุมกลุ่ม (Focus Group)  จากกลุ่มเป้าหมาย 2 กลุ่ม โดยการใช้กลุ่มแบบเจาะจง (random sampling specific) ได้แก่ ผู้บริหารของสถานประกอบการ (จำนวน 4 คน) และผู้บริหารสหกิจศึกษา (จำนวน 5 คน) โดยใช้แบบสอบถามที่นัยสำคัญ 0.05 และมีความเชื่อมั่น 0.85 และอธิบายเชิงพรรณนา (Description Research) จากการสรุปผลจากวิจัย ที่ประชุมกลุ่มได้พิจารณา แนวทางการจัดการเรียนมีด้วยกัน 2 แนวทาง คือ 1) การเรียนการสอนรายวิชาสหกิจศึกษา ในชั้นปี 3 ภาคเรียนที่ 2 และในชั้นปี 4 ภาคเรียนที่ 1  และ 2) การเรียนการสอนรายวิชาสหกิจศึกษาในทุกชั้นปี (แบบอัตราส่วน) พบว่า ทั้ง 2 แนวทางการศึกษามีความเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนในรานวิชาสหกิจศึกษา

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (8 สิงหาคม 2559). แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2574). กรุงเทพฯ: สืบค้นจาก http://www. Dcms.thailis.ac.th. 2560.
2 กระทรวงศึกษาธิการ. (8 สิงหาคม 2559). การประเมินสภาพจริง. สืบค้นจาก http://www.dcms. thailis.or.th/dcms/browse.php?option. 2545, หน้า 20.
3 วิจิตร ศรีสอ้าน และอลงกต ยะไวทย์, “การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการสหกิจศึกษา”, พระนครศรีอยุธยา: โรงแรมกรุงศรีริเวอร์, พระนครศรีอยุธยา, 2549.
3 สมาคมสหกิจศึกษาไทย, มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดำเนินงานสหกิจศึกษา, นครราชสีมา: สมาคมสหกิจศึกษาไทย, 2552.
3 อลงกต ยะไวทย์, “การพัฒนารูปแบบการจัดการสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี”,นครราชสีมา: ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2549.
7 สมใจ บุญสรรค์, ความคิดเห็นเกี่ยวกับสหกิจศึกษา, สัมภาษณ์เมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2560, 2560.
8 มนตรี รัตนวิจิตร, ความคิดเห็นเกี่ยวกับสหกิจศึกษา, สัมภาษณ์เมื่อ 10 มีนาคม 2560, 2560.
9 ประวิทย์ บึงสว่าง และคณะ, “การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้มัลติมีเดีย, เพื่อศึกษาทดลอบทางเคมี,” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2554.
10 สุเมธ แย้มนุ่น, “รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการสหกิจศึกษานำร่องของประเทศไทย,” นครราชสีมา: ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2547.
11 พัชรี ศรีสังข์ “การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูวิชาจิตวิทยาสังคมโดยใชชุมชนและ ประสบการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสรางคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์,” วารสารพฤติกรรมศาสตร์, ปีที่ 14, ฉบับที่ 1, 2551.
12 ศิริพร ทองแก้ว “การศึกษารูปแบบการดำเนิน สหกิจศึกษาของคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี: การวิจัยแบบผสมผสาน”, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2531.
13 F.C. Lazarus, “The Synergy of workplace Learning Perspective of cooperative Education Directors”, USA. 2534.