การปฏิเสธอภิปรัชญาและการไม่เชื่อมั่นต่อความจริงสูงสุด : ท่าทีแบบหลังสมัยใหม่นิยมในวรรณกรรมของปราบดา หยุ่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
การปฏิเสธความคิดเชิงอภิปรัชญา และไม่เชื่อมั่นต่อความจริงสูงสุด ในรูปแบบที่เรียกว่า “กังขานิยม” เป็นท่าทีที่สำคัญประการหนึ่งของนักคิดแบบหลังสมัยใหม่นิยม งานเขียนของปราบดา หยุ่น นักเขียนร่วมสมัยของไทยปรากฏลักษณะความเป็นหลังสมัยใหม่ในหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าทีที่มีต่อสัจธรรมและแนวคิดเชิงอภิปรัชญา นอกจากนี้แล้วงานเขียนของปราบดายังสะท้อนถึงสภาพการณ์ของสังคมแบบหลังสมัยใหม่ในหลายประการ เช่น สภาพดกดื่นและผสมผสานทางวัฒนธรรม สินค้าและการบริโภค เป็นสังคมล้ำความจริง ประกอบขึ้นจากการจำลองจนไม่สามารถกำหนดได้แน่นอนชัดเจนว่าอะไรคือความเป็นจริง รวมถึงการที่มนุษย์ตกอยู่ในภาวะสูญเสียความเชื่อมั่นต่ออุดมคติ และการสูญเสียตนเองเพราะตกอยู่ภายในวงล้อมของสินค้าและการบริโภคเชิงสัญญะ เป็นต้น
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
อยู่ระหว่างการปรับปรุง (ลิขสิทธิ์และการรับผิดชอบ)
References
1 อิราวดี ไตลังคะ, “นวนิยายเข้ารอบคัดเลือกซีไรต์กับลักษณะคตินิยมหลังสมัยใหม่”, วารสารอักษรศาสตร์, ปีที่ 32, ฉบับที่ 2, 2546, หน้า 128-137.
2 ปราบดา หยุ่น, “ความน่าจะเป็น”, สุดสัปดาห์, 2544, หน้า 130.
3 สรายุทธ์ ธรรมโชโต, “ความน่าจะเป็น “โพสต์โมเดิร์น” ของ “ความน่าจะเป็น”, ใน 25 ปี ซีไรต์ รวมบทวิจารณ์คัดสรร, สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2547, หน้า 671-686.
4 รื่นฤทัย สัจจพันธุ์, “ความน่าจะเป็น: คลื่นลูกใหม่ของนักเขียนเรื่องสั้นไทย”, ใน 25 ปี ซีไรต์ รวมบทวิจารณ์คัดสรร, สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2547, หน้า 651.
5 ศุภชัย เจริญวงศ์, “ถอดรหัสการพัฒนา”, สถาบันพัฒนาการเมือง, 2544, หน้า 13-17
6 ปราบดา หยุ่น, “กระทบไหล่เขา”, ระหว่างบรรทัด, 2547, หน้า 131.
7 จรูญพร ปรปักษ์ประลัย, “กลลวงแห่งถ้อยคำและความจริง บทศึกษาว่าด้วยคำนำและชื่อหนังสือของปราบดา หยุ่น”, นิตยสารสีสัน, ปีที่ 12, ฉบับที่ 3, 2544, หน้า 77-78.
8 วิเศษ แสงกาญจนวนิช, “ปรัชญาหลังนวยุค”, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 16.
9 จิรโชค วีรสย, “ว่าด้วย Post-modern”, วารสารศาสนาและวัฒนธรรม, ปีที่ 1 ฉบับที่ 2, 2550, หน้า 39.
10 วิเศษ แสงกาญจนวนิช, “ปรัชญาหลังนวยุค”, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 3-4.
11 เสาวณิต จุลวงศ์, “ความซับซ้อนของการเล่าเรื่อง: ลักษณะหลังสมัยใหม่ในบันเทิงคดีร่วมสมัยของไทย”, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณคดีเปรียบเทียบ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 17.
12 วิเศษ แสงกาญจนวนิช, “ปรัชญาหลังนวยุค”, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 18.
13 ปราบดา หยุ่น, “ความน่าจะเป็น”, สุดสัปดาห์, 2544, หน้า 198-199.
14 ปราบดา หยุ่น, “แพนด้า”, openbooks.fiction, 2547, หน้า 235.
15 ปราบดา หยุ่น, “แพนด้า”, openbooks.fiction, 2547, หน้า 268.
2 ปราบดา หยุ่น, “ความน่าจะเป็น”, สุดสัปดาห์, 2544, หน้า 130.
3 สรายุทธ์ ธรรมโชโต, “ความน่าจะเป็น “โพสต์โมเดิร์น” ของ “ความน่าจะเป็น”, ใน 25 ปี ซีไรต์ รวมบทวิจารณ์คัดสรร, สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2547, หน้า 671-686.
4 รื่นฤทัย สัจจพันธุ์, “ความน่าจะเป็น: คลื่นลูกใหม่ของนักเขียนเรื่องสั้นไทย”, ใน 25 ปี ซีไรต์ รวมบทวิจารณ์คัดสรร, สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2547, หน้า 651.
5 ศุภชัย เจริญวงศ์, “ถอดรหัสการพัฒนา”, สถาบันพัฒนาการเมือง, 2544, หน้า 13-17
6 ปราบดา หยุ่น, “กระทบไหล่เขา”, ระหว่างบรรทัด, 2547, หน้า 131.
7 จรูญพร ปรปักษ์ประลัย, “กลลวงแห่งถ้อยคำและความจริง บทศึกษาว่าด้วยคำนำและชื่อหนังสือของปราบดา หยุ่น”, นิตยสารสีสัน, ปีที่ 12, ฉบับที่ 3, 2544, หน้า 77-78.
8 วิเศษ แสงกาญจนวนิช, “ปรัชญาหลังนวยุค”, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 16.
9 จิรโชค วีรสย, “ว่าด้วย Post-modern”, วารสารศาสนาและวัฒนธรรม, ปีที่ 1 ฉบับที่ 2, 2550, หน้า 39.
10 วิเศษ แสงกาญจนวนิช, “ปรัชญาหลังนวยุค”, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 3-4.
11 เสาวณิต จุลวงศ์, “ความซับซ้อนของการเล่าเรื่อง: ลักษณะหลังสมัยใหม่ในบันเทิงคดีร่วมสมัยของไทย”, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณคดีเปรียบเทียบ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 17.
12 วิเศษ แสงกาญจนวนิช, “ปรัชญาหลังนวยุค”, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 18.
13 ปราบดา หยุ่น, “ความน่าจะเป็น”, สุดสัปดาห์, 2544, หน้า 198-199.
14 ปราบดา หยุ่น, “แพนด้า”, openbooks.fiction, 2547, หน้า 235.
15 ปราบดา หยุ่น, “แพนด้า”, openbooks.fiction, 2547, หน้า 268.