การพัฒนาเกมคณิตบอมเบอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Main Article Content

สายสุนี โพธิ์ตุ่น
ดวงพร ไม้ประเสริฐ

บทคัดย่อ

               งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาเกมคณิตบอมเบอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  4  2) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเกมคณิตบอมเบอร์ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  4  จำนวน 30 คน ด้วยวิธีการสุ่มเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยประกอบด้วยเกมคณิตบอมเบอร์ แบบประเมินคุณภาพของเกมคณิตบอมเบอร์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ ผลวิจัยพบว่า  1)  นักเรียนมีทักษะในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ทั้งการบวก ลบ คูณ และหาร  2) ผลการประเมินคุณภาพของเกมคณิตบอมเบอร์เพื่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  4 อยู่ในระดับดีมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 และ 3) ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนโดยใช้เกมเพื่อการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.49

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2542). การวิเคราะห์สถิติ : สถิติเพื่อการตัดสินใจ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์วิทยาลัย.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยสาส์น.

ประหยัด จิระวรพงศ์. (2555). วิธีสอนแบบ Game Based Learning เป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบหนึ่ง ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อให้มีความสนุกสนานไปพร้อม ๆ กับการได้รับความรู้ สืบค้น 10 ตุลาคม 2563, จาก http://cteducation.blogspot.com/p/blog-page_17.html.

พรชนัน ตาราพงษ์. (2555). การออกแบบเกมดิจิตอลเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. (2550). ทักษะ 5C เพื่อการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ.เพื่อการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภาณี ศรีอุทธา. (2553). การพัฒนาเกมแอพพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรู้บนแท็บเล็ต ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมครั้งที่ 1, หน้า 70–78.