หลักเกณฑ์และขั้นตอนดำเนินการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอหลักเกณฑ์พื้นฐาน ขั้นตอนการดำเนินการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 เพื่อให้คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ทราบถึงหลักเกณฑ์พื้นฐาน ขั้นตอน และสามารถนำไปใช้เป็นแนวปฏิบัติในกระบวนการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่และการออกคำสั่งทางปกครองให้เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
อยู่ระหว่างการปรับปรุง (ลิขสิทธิ์และการรับผิดชอบ)
References
1. วรเจตน์ ภาคีรัตน์, กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองสำหรับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น, กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า,2554
2.ฤทัย หงส์สิริ, “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539}” วารสารการพาณิชยนาวี ปีที่ 19 ฉบับที่ 2, หน้า 39-64, 2554
3.กมลชัย รัตนสกาววงศ์, กฎหมายปกครองกรุงเทพฯ : วิญญูชน, พิมพ์ครั้งที่ 7, 2551
4.พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองพ.ศ. 2539
5. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
7.ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2.ฤทัย หงส์สิริ, “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539}” วารสารการพาณิชยนาวี ปีที่ 19 ฉบับที่ 2, หน้า 39-64, 2554
3.กมลชัย รัตนสกาววงศ์, กฎหมายปกครองกรุงเทพฯ : วิญญูชน, พิมพ์ครั้งที่ 7, 2551
4.พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองพ.ศ. 2539
5. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
7.ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์