การบริหารที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ของสถานศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีความมุ่งหมายเพื่อนำเสนอแนวคิดการบริหารที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ในสถานศึกษา ประกอบด้วย แนวคิด หลักการ และความสำเร็จในการบริหารงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ แนวคิดการบริหารคุณภาพงานลูกเสือในสถานศึกษา แนวคิดปัจจัยแห่งความสำเร็จ เพื่อเป็นต้นแบบในการบริหารกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ให้เกิดผลสำเร็จในสถานศึกษา ซึ่งได้จากผลการประเมินการบริหารงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ของสถานศึกษาจากหน่วยเหนือ ผลสำเร็จในการปฏิบัติงานของผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และความพึงพอใจเกี่ยวกับกิจกรรมลูกเสือของผู้มีส่วนได้รับผลโดยตรง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
อยู่ระหว่างการปรับปรุง (ลิขสิทธิ์และการรับผิดชอบ)
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553), แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
ชัชชญา พีระธรณิศร์. (2562). การบริหารจัดการคุณภาพเพื่อยกระดับคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 3(2), 58-59. สืบค้น 22 ตุลาคม 2564 จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/cmujedu/article/view/183055
ชัยณรงค์ สวนจันทร์ และ รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2561). การส่งเสริมกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณสงขลา, สงขลา.
ณรงค์ จันทะคัด. (2550). การพัฒนารูปแบบบริหารงานกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2547). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสนับสนุนทางสังคมของหัวหน้าสถานีอนามัยตำบล กรุงเทพมหานคร, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2551). หลักการ และทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: เทียมฟ้า.
นวลจันทร์ จุนทนพ. (2559). การศึกษาบทบาทภาวะผู้นําเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดเทศบาลในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี, จันทบุรี.
เนตรดาว ปาลรัตน์. (2554). การบริหารงานกิจกรรมลูกเสือโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษา อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. สงขลา.
แม๊กเวลล์, เจ.ซี. (2555). ภาวะผู้นำ 5 ระดับ จากจุดเริ่มต้น สู่ความเป็นผู้นำที่สมบูรณ์แบบ. (วันดี อภิรักษ์ธนากร, แปล). กรุงเทพฯ: เนชั่นบุ๊ค.
พรอนันต์ เสือคลื้น. (2559). การบริหารกิจกรรมลูกเสือของโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มดอยอ่างขาง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, กรุงเทพ.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2547). ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภฤกษ์ ศิโรทศ.(2561). แนวทางการบริหารงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
สมบัติ เดชบำรุง. (2562). การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ขั้นความรู้เบื้องต้น. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.
สมมาต สังขพันธ์. (2558). วัตถุประสงค์ของการลูกเสือ. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2563. จาก https://scout.nma6.go.th/640
สุนทร โคตรบรรเทา. (2560). การบริหารการศึกษา หลักการและทฤษฎี (ฉบับปรับปรุง), กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ปัญญาชน.
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน. (2552). แนวทางการพัฒนาหลักสูตร การจัดกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา พ.ศ.2552. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). หลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบลูกเสือ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ. (2550). คู่มือการฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ขั้นความรู้เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ. (2552). พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.