ศักยภาพของไทยในการเป็นศูนย์กลางโลจีสติกส์ของอาเซียน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ต้องการแสดงให้เห็นถึงแรงขับเคลื่อนต่าง ๆ ที่มาจากโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางคมนาคม ของรัฐบาลไทยที่เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะประเทศจีน อาทิเช่น โครงการศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ โครงการศูนย์การขนส่งชายแดนนครพนม และโครงการรถไฟความเร็วสูงจากจีนที่ต่อเชื่อมกับรถไฟรางคู่ ของไทย ประสานกับแรงขับเคลื่อนของการเปลี่ยนแปลงของเส้นทางการค้าในภูมิภาค อันมีผลมาจากจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจีนในการเปิดประเทศในปัจจุบันและความพยายามในการกระจายความเจริญไปยังส่วนต่าง ๆ ของประเทศด้วยนโยบาย Go West ที่น่าจะสัมฤทธิ์ผลในอนาคต ที่สามารถสร้างศักยภาพให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางโลจีสติกส์ของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน โดยบทความนี้ยังได้มีการประเมินสภาพความพร้อมของประเทศไทยในปัจจุบันในการเป็นศูนย์กลางดังกล่าว และชี้ให้เห็นถึงปัจจัยที่ยังขาดที่รัฐบาลควรดำเนินการเพื่อผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางฯ ให้ได้ตามศักยภาพที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยส่วนสุดท้ายของบทความยังได้มีการสรุปให้เห็นถึงผลประโยชน์ต่าง ๆ ที่จะเกิดแก่ประเทศถ้ารัฐบาลสามารถผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางโลจีสติกส์ของอาเซียนได้เป็นผลสำเร็จ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
อยู่ระหว่างการปรับปรุง (ลิขสิทธิ์และการรับผิดชอบ)
References
กรมการขนส่งทางบก. (2560). กรมการขนส่งทางบกยกระดับมาตรฐานระบบการขนส่งสินค้า พัฒนาสถานีขนส่งสินค้าภูมิภาค พลิกโฉมโลจิสติกส์ไทย สู่การเป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ใน ASEAN. https://www.dlt.go.th/th/public-news/view.php?_did=1814
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.). ยูนนานกับ "นโยบายดําเนินมาตรการมุงตะวันตก" ของประเทศจีน.
บอร์ด PPP ตีกลับโครงการมอเตอร์เวย์ นครปฐม-ชะอำ 7.9 หมื่นล้าน. (2561, 9 สิงหาคม). ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. https://www.prachachat.net/finance/news-202604
มหาวิทยาลัยนครพนม. (2560). การศึกษาและวิเคราะห์การให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ โครงการศูนย์การขนส่งชายแดนจังหวัดนครพนม ตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ.2556. นครพนม: มหาวิทยาลัยนครพนม.
รายงานการประชุมคณะกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ (คณะกรรมการ PPP) ครั้งที่ 3/2561. (2561). [ม.ป.ท.].
สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2553). โครงการศึกษาสำรวจออกแบบรายละเอียดและการบริหารจัดการศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้า (Intermodal facilities) ที่เชียงแสนและเชียงของจังหวัดเชียงราย. https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/ProjectOTP/2553/Project6/1-FinalReport.pdf
Chang, Y. T., Lee, S. Y., & Tongzon, J. L. (2008). Port selection factors by shipping lines: Different perspectives between trunk liners and feeder service providers. Marine Policy, 32(6), 877-885. https://doi.org/10.1016/j.marpol.2008.01.003
Kavirathna, C., Kawasaki, T., Hanaoka, S., & Matsuda, T. (2018). Transshipment hub port selection criteria by shipping lines: The case of hub ports around the Bay of Bengal. Journal of Shipping and Trade, 3(4). https://doi.org/10.1186/s41072-018-0030-5
Kim, Y. S., Yur, Y. S., & Shin, C. H. (2009). Review of theoretical aspects on the studies of port selection criteria. Journal of Navigation and Port Research, 33(2), 135-141. https://doi.org/10.5394/KINPR.2009.33.2.135
Lirn, T. C., Thanopoulou, H. A., Beynon, M. J., & Beresford, A. K. C. (2015). An application of AHP on transhipment port selection: A global perspective. In H. E. Haralambides (Ed.), Port management (pp.314-338). London: Palgrave Macmillan. https://doi.org/10.1057/9781137475770_15
Rodrigue, J. P. (2020). The geography of transport systems (5th ed.). New York: Routledge. https://transportgeography.org/
United Nations. (2002). Commercial development of regional ports as logistics centers. New York: United Nations.