ชุดกิจกรรมการปั้นมันดาลา: กิจกรรมศิลปะเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตใจ สำหรับเด็กปฐมวัย

Main Article Content

ณัฐณิชา มณีพฤกษ์
อินทิรา พรมพันธุ์
พชร วงชัยวรรณ์
จิราพร พนมสวย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอถึงแนวทางการเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตใจสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 5-7 ปี ผ่านการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ประเภทการปั้นที่บูรณาการเข้ากับเทคนิค “มันดาลา” ซึ่งเป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะภายในพื้นที่วงกลมที่มีจุดเริ่มต้นมาจากประเทศทิเบต ซึ่งในปัจจุบันได้มีการปรับรูปแบบให้สามารถนำมาใช้ในการบำบัดอารมณ์และจิตใจผ่านการสร้างสรรค์งานศิลปะประเภทต่าง ๆ เพื่อช่วยในการเสริมสร้างสมาธิ พัฒนาทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงการเสริมสร้างประสบการณ์ทางสุนทรียะและกล่อมเกลาจิตใจให้กับคนทุกเพศทุกวัย บทความฉบับนี้ผู้เขียนจึงได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตใจสำหรับเด็กปฐมวัย คุณค่าของการสร้างสรรค์มันดาลา กิจกรรมศิลปะและการปั้นสำหรับเด็กปฐมวัย ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอน พร้อมทั้งนำเสนอตัวอย่างและแนวทางในการออกแบบกิจกรรมการปั้นมันดาลาให้มีความเหมาะสมกับพัฒนาการและช่วงความสนใจของเด็กปฐมวัย อันจะนำไปสู่การเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตใจ ตลอดจนพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา สังคม อารมณ์และจิตใจที่เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวม

Article Details

How to Cite
มณีพฤกษ์ ณ. ., พรมพันธุ์ อ., วงชัยวรรณ์ พ., & พนมสวย จ. . (2024). ชุดกิจกรรมการปั้นมันดาลา: กิจกรรมศิลปะเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตใจ สำหรับเด็กปฐมวัย . วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(1), 145–156. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/rdi-aru/article/view/269061
บท
บทความวิชาการ
Author Biography

พชร วงชัยวรรณ์, สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

Corresponding Author

References

ชัยณรงค์ เจริญพาณิชย์กุล. (2533). พัฒนาเด็กด้วยศิลปะ. แปลน พับลิซชิ่ง.

ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2543). การวิจัยทางศิลปะ. ด่านสุทธาการพิมพ์.

ณัฐชา อุเทศนันท์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดและสุขภาวะทางจิตในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง โดยมีความเมตตากรุณาต่อตนเองและการสนับสนุนทางสังคมเป็นตัวแปรกำกับ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดวงฤทัย คำพะรัก, นนทชนนปภพ ปาลินทร, ทองสุข วันแสน, และศริพร อยู่ประเสริฐ. (2562). การพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัย โดยใช้กิจกรรมการปั้นสร้างสรรค์. วารสารแสงอีสาน มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, 16(2), 484-498.

ปิ่นทอง นันทะลาด. (2560). ศิลปะสําหรับครูปฐมวัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล. (2559). มันดาลา: นัยยะแห่งจิตวิญญาณสู่บริบททางศิลปะ. วารสารศิลป์พีระศรี, 4(1), 181-209.

แพรวดาว พงศาจารุ, เรวดี พจนบรรพต, และนิธิพัฒน์ กุศลสร้าง. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ จิตอาสา และสุขภาวะทางจิตในนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต. โครงงานวิจัยปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มูลนิธิยุวสถิรคุณ. ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง. (2560). กิจกรรมมันดาลา Mandala. http://www.sufficiency.nida.ac.th/blog/116-โรงเรียนเทศบาล5วัดป่าจิตตสามัคคี-2945-กิจกรรมมันดาลาmandala

รัชนีกร ชะตางาม. (2560). การสร้างสรรค์ศิลปะสื่อผสมพื้นที่แห่งความสุขกรณีศึกษาศิลปะบาบดัเพื่อพัฒนาสมาธิในเด็กสมาธิสั้น [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. (2559). การใช้มันดาลาเพื่อเสริมสร้างการตระหนักรู้ในตนเองของนิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. วารสารครุศาสตร์, 44(4), 176-187.

สถาบันราชานุกูล. (2566). ความสุขของเด็กปฐมวัย. https://th.rajanukul.go.th/_admin/file-download/ groupreview0000303.pdf

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2563). สุขภาวะเด็ก คือ ฐานทุนสุขภาพตลอดช่วงชีวิต และ “สร้าง” นำ “ซ่อม” ที่แท้จริงต้องเริ่มที่วัยเด็ก. https://www.thaihealth.or.th/?p=223244

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. https://backoffice.onec.go.th/uploaded2/Category/202110/nesdbplan12.pdf

สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2550). พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550. https://infocenter.nationalhealth.or.th/statute50

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). แผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2564-2570.

https://opac01.stou.ac.th/multim/Gift_eBook/165145.pdf

หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร. (2566). ศิลปะแมนดาลาเพื่อการพัฒนาสมาธิและการจดจ่อ.

https://www.bacc.or.th/event/3189.html

อรุโณทัย ไชยช่วย. (2566). Mandalas คืออะไร. สถาบันการศึกษาเพื่อการเยียวยา. https://mandalascenter.com/?page_id=3624&lang=th

Chambers, Y. (n.d.). Social emotional learning activities using a Mandala. Kiddle Matters.

https://www.kiddiematters.com/social-emotional-learning-activities-using-a-mandala/

Cook, K., Mayorga, M., & Ball, V. (2016). Mandala mornings: A creative approach for elementary school. Journal of School Counseling, 14(6), 1-25.

Eglinton, A. K. (2003). Art in the early years. Routledge Falmer.

Fagan, L. M. (2015). Elementary school teachers' perception of art integration to arts integration to improve student learning [Doctoral dissertation]. Walden University.

Jung, C. G. (1959). Mandala symbolism. https://sus-west-wasabisys.com/luminist/EB/I-J-K/Jung%-20Mandala%20Symbolism.pdf

Lowenfeld, V. (1957). Creative and mental growth (3rd ed.). Macmillan.

Petrishcheva, V., & Filatova, O. V. (2017). Mandala as a method of art therapy, ensuring stabilization of emotional states of preschooler children. Olympiáda techniky Plzen, 23.–24.5, p. 110-113.

Schirrmacher, R. (1998). Art and creative development for young children (3rd ed.). Delmar.

The Mandala Company. (2023). The Butterfly Mandala. https://www.themandalacompany.com/

Ulian, L. (2023). Technological mandala 52 – Solaris. Leonardo Ulian.

https://www.leonardoulian.com/works/technological-mandala-52-solaris-2/World Health Organization. (2020). Basic documents (49th ed.).

Youngciety. (2562). กิจกรรมศิลปะการปั้นดินญี่ปุ่นสำหรับเด็กปฐมวัย.

https://www.youngciety.com/article/crafts/japan-clay-mold.html

Youngciety. (2565). การปั้นสำหรับเด็ก ตอน ดินปั้นและการปั้นพื้นฐานที่เหมาะกับเด็ก 3 ขวบขึ้นไป.

https://www.youngciety.com/article/crafts/basic-clay-modelling-technique-for-kids.html