แนวคิดใหม่ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • อุทัย ภิรมย์รื่น สมาคมการอ่านแห่งประเทศไทย

คำสำคัญ:

บทบาทและสถานะของภาษาอังกฤษ, แนวโน้มของภาษาอังกฤษในทางการศึกษา, วิธีเรียนภาษาแบบสดใหม

บทคัดย่อ

นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ปิดฉากลงจากปี ค.ศ. 1941 เป็นต้นมา ภาษาอังกฤษได้เป็นที่ ยอมรับในฐานะภาษาที่สื่อสารโดยนานาชาติ จำนวนผู้ใช้ภาษาอังกฤษได้ขยายตัวเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ สำนักงานบริติชเคาน์ซิล (ค.ศ.1995) รายงานว่ามีผู้ใช้ภาษาอังกฤษทั่วโลกอยู่จำนวนถึงหนึ่งล้านล้าน คน (one billion) ทำให้ภาษาอังกฤษแพร่หลายมากที่สุดในโลก อย่างไรก็ตามมีรายงานล่าสุดจากการ สำรวจของ Graddol (ค.ศ. 2006) นักข่าวและนักเขียนชาวอังกฤษ พบว่าในเวลาอีก 10-15 ปี หรือราว ค.ศ. 2016-2021 จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างยิ่งใหญ่เกี่ยวกับสถานะและบทบาทของภาษาอังกฤษใน โลกยุคปัจจุบันผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษจำเป็นต้องเรียนรู้และฝึกฝนทักษะการใช้เนื้อหา และรูปแบบภาษาอังกฤษแนวใหม่ในศตวรรษที่ 21 บทความนี้จะนำเสนอแนวโน้มของสถานะและ บทบาทของภาษาอังกฤษในทางการศึกษาและสรุปการพัฒนาด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษใน ระยะเวลาที่ผ่านมาเพื่อเสนอแนวคิดใหม่ที่เรียกว่า “วิธีการสดใหม่” “The FRESH Approach” เพื่อ เพิ่มพูนประสิทธิผลด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในยุคปัจจุบัน

References

British Council. (1995). English in the World: the English 2000 global consultation, Manchester: British Council.

Els, van. (2005). ‘Multilingualism in the European Union’, International Journal of Applied Linguistics. 15.3, pp. 264-281. in David Nunan (2008). English as a global language; Policy and practice. Memeograph, p.7.

Fairclough, N. (1966). ‘Bordercrossing: discourse and social change in contemporary societies’ in Change and Language, BAAL, 10, Clevedon, Multilingual Matters. Goodman, S., Graddol, D. (2005). (eds). Redesigning English: new text, new identities. London: Routledge/The Open University.

Goodman, S., (2005). Market forces speak English. In Sharon Goodman, David Graddol (eds). Redesigning English: new text, new identities. (pps. 141-180). London: Routledge/The Open University.

Goodman, D. (2005). Global English, Global future? In Sharon Goodman, David Graddol (eds). Redesigning English: new text, new identities. (pps. 181-244). London: Routledge/The Open University.

Graddol, D. (2006). English next. London: British Council.

Kachru, B, B. (ed). (1983) The Other Tongue: English across cultures, Oxford, Pergamon

Markee, N. (2000). Some thoughts on globalization: A response to Warschauer. TESOL Quarterly, Vol, 34. No. 3 Autumn, 569-574 Nunan, David. (2008). English as a global language: Policy and practice. Memeograph.

Piromruen, Uthai. (2009). English in Education Careers Proceedings.Litcon 2009, The Sixth International Conference on Literacy: Literacy: Forging Pathways to Unity. Penang, Malaysia

Warschauer, M. (2000). The changing global economy and the future of English teaching. TESOL Quarterly, Vol. 34, No. 3 Autumn, 511-535.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2013-10-11

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ