A Model of developed from “Model Household” to “Community Waste Management” in Lopburi Province
Main Article Content
Abstract
The objective of this research is to study the model of developed from “Model Household” to “Community Waste Management” in Lopburi province. Qualitative research was used. The samples were 6 projects that promote and support by the provincial level management unit with a key focus (Thai Health Promotion Foundation) of Lopburi province. Data were collected using in-depth interview and focus group discussions from 39 key stakeholders, and study the community context, community survey, non-participant observation, and documentary study. Triangulations in data and collection were undertaken. Data were analyzed using content analysis by non-theoretical typological analysis. The main results were model of developed from “Model Household” to “Community Waste Management” in Lopburi province is as follows: 1. The key factors that contribute to success is the leaders, presence of working mechanisms, network development, adding knowledge and developing skills, following up and summarizing lessons, and the creation of knowledge and innovation in waste management in the community. 2. Important activities include the data management, engaging communication creating a learning process from real practice to be a source of learning for expansion, follow-up visit, outcome assessment, and continuous lesson summaries, and 3. Important tools used in development include dialogue, the before action review, the after action review, using the resulting ladder, action research evaluation, empowered evaluation, and public relations media.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่าหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนาญาตจากวารสารวิชาการ ฯ ก่อนเท่านั้น
References
กรมควบคุมมลพิษ. (2559). แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอย (พ.ศ. 2559 – 2564). กรุงเทพฯ: แอคทีฟพริ้นท์.
_______. (2565). แผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะของประเทศ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2565 – 2570). กรุงเทพฯ: กรมควบคุมมลพิษ.
เก็จกนก เอื้อวงศ์. (2562, มกราคม - มิถุนายน). การสนทนากลุ่ม: เทคนิคการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพที่มีประสิทธิภาพ. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ., 12(1), 17 - 30.
เกียรติสุดา ศรีสุข. (2556). ระเบียบวิธีวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 3). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
จังหวัดลพบุรี. (2563). เปลี่ยน “ขยะ” เป็น “พลัง” ก้าวย่างและทางเดินจังหวัดลพบุรีสู่รางวัลชนะเลิศ จังหวัดสะอาด กลุ่มจังหวัดขนาดใหญ่ในระดับประเทศ ปี 2561. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลิฟวิ่ง.
นภา จันทร์ตรี, ทิพวรรณ พละสุขสมบัติ, ราตรี พิงกุศล, เรืองอุไร วรรณโก, เบญจพร ประจง, และธนวัฒน์ กันภัย. (2563, กันยายน - ธันวาคม). แนวทางการจัดการขยะอย่างยั่งยืนด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลปากน้ำแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี. วารสารวิจัยรำไพพรรณี, 14(3), 25 - 31
รัตนะ บัวสนธิ์. (2558). การวิจัยเชิงคุณภาพในการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2558, กรกฎาคม - ธันวาคม). มาตรการทางกฎหมายในการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศไทย. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม, 11(2), 77 - 89.
วิทูร เอียการนา, และดิฐา แสงวัฒนะ. (2563, กรกฎาคม - ธันวาคม). การศึกษาแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยภายในเขตเทศบาลเมืองบุรีรัมย์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 15(2), 87 - 99.
สันชัย พรมสิทธิ์. (2562, มกราคม - เมษายน). การจัดการขยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 9(1), 67 - 81.
สุภางค์ จันทวานิช. (2553). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โสภณ สุวรรณรัตน์, และเกรียงศักดิ์ สร้อยสุวรรณ. (2565, เมษายน - มิถุนายน). รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอย่างยั่งยืนบนฐานวิถีชีวิตใหม่: กรณีศึกษาจังหวัดเลย. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 22(2), 311 - 326.
หน่วยจัดการจังหวัดระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ (สสส.) จังหวัดลพบุรี. (2565). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการพัฒนาและสนับสนุนการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาพภายใต้ยุทธศาสตร์ “ลพบุรี: เมืองแห่งความสุข”. ลพบุรี: ผู้แต่ง.
อนันต์ โพธิกุล. (2561, มกราคม - มิถุนายน). การบริหารจัดการขยะชุมชนของเทศบาลเมืองแสนสุข อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 4(1), 107 - 121.
Creswell, J. W. (2012). Qualitative Inquiry and Research Design: Choosing Among Five Approaches (3th ed.). London: SAGE Publications, Inc.