ความเข้มแข็งทางใจสำหรับวัยรุ่นในภาวะวิกฤต ความเข้มแข็งทางใจสำหรับวัยรุ่นในภาวะวิกฤต

Main Article Content

พัชรี ถุงแก้ว
ณีร์นรา ณีร์นรา ดีสม

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับความเข้มแข็งทางใจสำหรับวัยรุ่นเมื่อต้องเผชิญกับภาวะวิกฤต ซึ่งความเข้มแข็งทางใจเป็นความสามารถทางอารมณ์และจิตใจในการปรับตัวและฟื้นตัวกลับสู่ภาวะปกติภายหลังที่พบกับสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความยากลําบากในชีวิต เมื่อวัยรุ่นมีความเข้มแข็งทางใจก็จะทำให้สามารถควบคุมตนเองให้แสดงออกต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม  สามารถจัดการกับปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตได้อย่างรู้เท่าทัน ใช้ทักษะในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้ รวมทั้งปรับตัวให้เข้ากับแต่ละช่วงเวลาของชีวิตได้อย่างยืดหยุ่น โดยมีความเข้าใจถึงข้อจำกัด และผลกระทบที่เกิดจากการตัดสินใจ รับผิดชอบกับผลที่เกิดขึ้น และใช้ชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี  บทความนี้ได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของความเข้มแข็งทางใจตั้งแต่ความเป็นมา ความหมาย รวมถึงองค์ประกอบของความเข้มแข็งทางใจ การประเมินความเข้มแข็งทางใจ และแนวทางการพัฒนาความเข้มแข็งทางใจที่วัยรุ่นสามารถนำไปเป็นแนวทางปฏิบัติในภาวะวิกฤตได้ เพื่อดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กชกร ฉายากุล. (2561). ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตในนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาล

บรมราชชนนี นครราชสีมา. The Journal of Baromarajonani College of Nusing, Nakhonratchasima, 24(2), 96-107.

กนกพร เรืองเพิ่มพูล นฤมล สมรรคเสวี และ พัชรินทร์ นินทจันทร์. (2558). ผลของโปรเเกรมเสริมสร้างความเเข็ง

เเกร่งในชีวิตต่อความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาล. Rama Nurs J, 21(2), 259-274.

กรมสุขภาพจิต. (2552). คู่มือการจัดกิจกรรมการสร้างพลังอึด ฮึด สู้ ในชุมชน. นนทบุรี: บียอนด์ พับลิสชิ่ง จำกัด

________. (2562). คู่มือสร้างสรรค์พลังใจให้วัยทีน. กรุงเทพฯ: บริษัท บียอนด์พับลิสชิ่ง จำกัด

________. (2563). เปลี่ยนร้ายกลายเป็นดี พลังสุขภาพจิต (RQ: Resilience quotient), นนทบุรี: ดีน่าดู.

กรรณิกาพร บุญชู. (2555). ปจจัยที่สงผลตอความเขมแข็งทางใจของหญิงวัยรุนตั้งครรภไมพึงปรารถนาในจังหวัด

นครปฐม. (ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร).

กานดา นาควารี พัชรินทร์ นินทจันทร์ และ โสภิณ แสงอ่อน. (2558). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่ง

ในชีวิตในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 29(2), 46-63.

เกณิกา จิรัชยาพร และ ทิพย์ภา เชษฐ์เชาวลิต. (2558). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจของ

วัยรุ่นตอนต้นในโรงเรียนแห่งหนึ่งของจังหวัดสงขลา. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 29(3), 113-125.

เกษม ตันติผลาชีวะ ศิริลักษณ์ ศุภปิติพร มาโนช หล่อตระกูล วีรพล อุณหรัศมี และ มานิต ศรีสุรภานนท์. (2560).

ศัพท์จิตเวช พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย.

ตันติมา ด้วงโยธา.(2553). การศึกษาและพัฒนาความหยุ่นตัวของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชโดยการให้คำปรึกษาเป็น

รายบุคคล. (ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา, มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ).

ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา. (2549). อาร์คิว ภูมิคุ้มกันทางใจ. http://www.happyhomeclinic.com/a21-RQ.htm

ธนพล บรรดาศักดิ์. (2560). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อความสุขในการเรียนรู้ ของ

นักศึกษาพยาบาล. (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช,

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา).

ธนพล บรรดาศักดิ์ กนกอร ชาวเวียง นทรี สิทธิสงคราม และ ผกาทิพย์ ปอยสูงเนิน. (2562). บทบาทพยาบาลในการ

ดูแลบุคคลที่มีภาวะวิกฤตทางจิตใจ. วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า, 36(1), 82-89.

นันทิพย์ หาลิน อังคณา ขันตรีจิตรานนท์ และ นนทลี พรธาดาวิทย์. (2559) ความเครียดและการปรับตัวของ

นักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วารสารศึกษาปริทัศน์, 31(3), 94-

ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล. (2550). คู่มือจัดกิจกรรมสร้างความเข้มแข็งทางใจสำหรับบุคลากรสาธารณสุข. นนทบุรี:

โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

พัชรินทร์ นินทจันทร์ โสภิณ แสงอ่อน และ จริยา วิทยะศุภร. (2556). ความแข็งแกร่งในชีวิต เหตุการณ์ที่สร้างความ

ยุ่งยากใจ และสุขภาพจิตของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 7(2), 12-26.

พัชรินทร์ นินทจันทร์ โสภิณ แสงอ่อน และ ทัศนา ทวีคูณ. (2555). ผลของโปรแกรมการสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต

ในนักศึกษาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. วารสารพยาบาล, 61(2), 18-27.

พัชรินทร์ นินทจันทร์. (2558). ความแข็งแกร่งในชีวิต แนวคิด การประเมิน และ การประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: จุดทอง.

พัชรินทร์ อรุณเรือง. (2545). ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ต่อความสามารถในการฟื้นพลัง และกลวิธีการ

เผชิญปัญหาของวัยรุ่นตอนต้น. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตศิลปศาสตร์ สาขาจิตวิทยาการปรึกษา, คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

พิชญานนท์ งามเฉลียว และวดี อัมรักเลิศ. (2556). พัฒนาการทางด้านจิตใจและสังคมในวัยรุ่น. ใน พิชญานนท์

งามเฉลียว วดี อัมรักเลิศ และ ธารทิพย์ แสงสุวรรณ์ (บรรณาธิการ), การดูแลสุขภาพสำหรับ 3 รุ่นอายุ:

วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ (น. 13-28). สงขลา: บัยตุลพริ้นติ้ง.

เพ็ญประภา ปริญญาพล. (2550). ความยืดหยุ่นและทนทานของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต

ปัตตานี. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 13(2), 137-152.

มะลิวรรณ วงษ์ขันธ์ พัชรินทร์ นินทจันทร์ และ โสภิณ แสงอ่อน. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งใน

ชีวิตในวัยรุ่น. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 29(1), 57-75.

รสวันต์ อารีมิตร. (2555). พัฒนาการด้านจิตใจและสังคมของวัยรุ่น. ใน วิโรจน์ อารีกุล ศิริไชย หงษ์สงวนศรี สุริยเดว

ทรีปาตี บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์ รสวันต์ อารีมิตร จิราภรณ์ ประเสริฐวิทย์ และคณะ (บรรณาธิการ), พัฒนาการและการเจริญเติบโตของวัยรุ่น (น. 19-22). กรุงเทพฯ: เอ-พลัส พริ้น.

วราพร เอราวรรณ์ โชติกา ภาษีผล และ ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง. (2553). การพัฒนาตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด

ภูมิต้านทานทางอารมณ์และจิตใจสำหรับนักศึกษาปริญญาบัณฑิต. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 23(3), 299-

วิโรจน์ อารีย์กุล. (2555). Practical points in adolescent health care. พิษณุโลก: เอ-พลัส พริ้น.

ศริญญา จริงมาก. (2561). ความเครียดและวิธีการจัดการความเครียดของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏ

อุดรธานี. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6(1), 43-58.

ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2554). ทฤษฏีจิตวิทยาบุคลิกภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.

ศรีสุดา วนาลีสิน. (2562). ความแข็งแกร่งในชีวิตของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดภาคใต้ตอนล่าง. วารสารการ

พยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 33(1), 111-127.

ศิริเพิ่ม เชาวน์ศิลป์. (2546). การวิเคราะห์องค์ประกอบของแบบทดสอบบุคลิกภาพการปรับตัวเพื่อความเป็นเลิศ

(รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศุภรัตน์ เอกอัศวิน และ เยาวนาฎ ผลิตนนท์เกียรติ. (2551). ความสามารถยืนหยัดเผชิญวิกฤติ. วารสารสุขภาพจิต

แห่งประเทศไทย, 16(3), 190-198.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2563). จับตาทิศทางสุขภาพคนไทย ปี 2563. กรุงเทพฯ: สำนัก

พัฒนาภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

สิริทรัพย์ สีหะวงษ์ และ คณะ. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย

อุบลราชธานี. วารสารมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 21(42), 93-106.

สุภาวดี ดิสโร. (2551). ผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนเองและการปรับการศึกษาแนวพุทธต่อความสามารถในการฟื้น

พลังของนักศึกษามหาวิทยาลัย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการปรึกษา, คณะ

จิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

อภิญญา อิงอาจ ณัฐพร กาญจนภูมิ และ พรพรรณ เชยจิตร. (2563). ความกังวลในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค

ติดเชื้อไวรัสโคโรนาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 17(2), 94-113.

อัจฉรา สุขารมณ์. (2559). การฟื้นฟูพลังใจในภาวะวิกฤต. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร., 4(1), 209-220.

อายุพร กัยวิกัยโกศล สุทธามาศ อนุธาตุ และพัชรินทร์ นินทจันทร์. (2558). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความ

แข็งแกร่งในชีวิตต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่ง. วารสารการพยาบาล

จิตเวชและสุขภาพจิต, 29(1), 27-43.

อุษณี ลลิตผสาน และ มารยาท โยทองยศ. (2555). การพัฒนาความสามารถการฟื้นพลัง. สืบค้นจาก

http://conference.bu.ac.th/dcu/download/paper_thai.doc.

American Psychological Association. (2014). Resilience: 10 way to Build Resilience. Retrieved from

http://www.apa.org/search?query=Resilience.

Bauman, S., Adams, J. H. and Waldo, M. 2001. Resilience in the oldest-old. Counseling and Human

Development, 34(2), 1–19.

Dyer, J.G. and McGuinness, T.M. (1996). “Resilience Analysis of the concept.” Archives of

Psychiatric Nursing, 10, 276-282.

Grotberg, E. H. (2005). Resilience for Tomorrow. Retrieved from

http://resilent.uluc.edu/library/grotberg2005_resilience-for-tommorrow-brazil.pdf.

Hiew, C. C., Mori, T., Shimizu, M., & Tominaga, M. (2000). Measurement of resilience development:

Preliminary result with a State-Trait Resilience Inventory. Journal of Learning & Curriculum Development, 1, 111-117.

Khoshouei, M. S. (2009). Psychometric evaluation of the Connor-Davidson Resilience Scale (CD-

RISC) using Iranian students. International Journal of Testing, 9(1), 60–66.

Klohnen, E. C. (1996). Conceptual analysis and measurement of the Construct of Ego Resiliency.

Journal of Personality and Social Psychology, 70(5), 1067-1079.

Levy, Judith M. (2003). AAMR Promoting Family Health and Resilience: AAMR Promotes Progressive

Policies, Sound Research, Effective Practices, and Universal Human Rights for People with Intellectual Disabilities. The Exceptional Parent, 2(33).

Lundman, B., Strandberg, G. Eisemann, M., Gustafson, Y. and Brulin, C. (2007). Psychometric

properties of the Swedish version of the Resilience Scale. Scandinavian journal of Caring Sciences, 21(2), 229–237.

Luthar, S. S., Cicchetti, D., & Becker, B. (2000). The construct of resilience: A critical Evaluation and

guidelines for future work. Child Development, 71(3), 543-562.

Yu, X., & Zhang, J. (2007). Factor analysis and psychometric evaluation of the Connor- Davidson

Resilience Scale (CD-RISC) with Chinese people. Social Behavior and Personality: An international journal, 35(1), 19-30.