กรอบความคิดแบบเติบโตของผู้บริหารมืออาชีพยุคการศึกษา 4.0
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความคิดเกี่ยวกับกรอบความคิดแบบเติบโตของผู้บริหารมืออาชีพยุคการศึกษา 4.0 ซึ่งเป็นยุคการศึกษาที่เน้นการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ เพื่อมุ่งสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้บริหารสถานศึกษาในยุคการศึกษา 4.0 จะต้องเป็นผู้บริหารมืออาชีพที่มีทั้งความรู้ ความสามารถทางการบริหารและความเป็นผู้นำทางวิชาการในการบริหารการศึกษา พร้อมทั้งสามารถปรับเปลี่ยนได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง กรอบความคิดแบบเติบโตเป็นกรอบแนวคิดความเชื่อส่วนบุคคลที่เชื่อว่าศักยภาพและความสามารถของตนเองเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา โดยเรียนรู้จากกระบวนการฝึกฝนตนเองในการจัดการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และมุ่งที่กระบวนการเรียนรู้มากกว่าผลลัพธ์ เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้บริหารสามารถปรับตัวทันต่อเปลี่ยนแปลงและนำไปสู่ความเป็นมืออาชีพ ซึ่งองค์ประกอบของกรอบความคิดแบบเติบโตของผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพยุคการศึกษา 4.0 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การชอบความท้าทายในการทำงาน 2) เรียนรู้จากความล้มเหลว 3. ความพยายาม 4) การเรียนรู้จากคำวิจารณ์และข้อเสนอแนะเชิงลบ และ 5) การหาแบบอย่างและแรงบันดาลใจ โดยผู้บริหารมืออาชีพยุคการศึกษา 4.0 จะต้องมีคุณลักษณะทั้ง 5 องค์ประกอบนี้ เพื่อที่จะสามารถพัฒนาและปรับตัวเพื่อรับมือกับความท้าทายใหม่ๆ ได้ พร้อมทั้งนำพาองค์กรก้าวไปสู่การเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Downloads
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ลิขสิทธิ์เป็นของวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ อนุญาตให้เผยแพร่เพื่อการศึกษาและวิจัย ในวงการวิชาการ ไม่อนุญาตการใช้ประโยชน์เพื่อการแสวงหากำไร
ข้อความที่ปรากฏในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้แต่ง ซึ่งวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ได้ประเมินคุณภาพตามหลักวิชาการ ผลกระทบอันเกิดจากความคิดเห็นของผู้แต่งเป็นความรับผิดชอบของผู้แต่งเอง
References
กนกอร สมปราชญ์. (2550). ภาวะผู้นำทางการศึกษา. (ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการบริหารการศึกษา).
ขอนแก่น: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
คมคาย น้อยสิทธิ์. (2561). ผู้บริหารยุคการศึกษา 4.0 . วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 46
ฉบับที่ 4, หน้า 40-47.ชาคริต จันทร์รุ่งสกุล. (2561). Growth Mindset สำคัญกว่าความฉลาด.
เข้าถึงได้จาก https://www.shakrit.com/growth-mindset.
ปณตนนท์ เถียรประภากุล. (2561). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคการศึกษา 4.0. วารสารสาขา
มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, ปีที่ 11 ฉบับที่ 2, หน้า 1994-2010.
ปรรณิกา มีครุฑ. (2562). นโยบายสาธารณะกับการศึกษาไทยยุค 4.0. วารสารมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2, หน้าที่ 1-13.
ประเวช ชุ่มเกษรกูลกิจ. (2561). พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงาน แนวคิด ปัจจัยเชิงสาเหตุความ
ท้าทาย. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, ปีที่ 10 ฉบับที่ 1, หน้า 25-41.
ปราย โสภาศิริ. (2557). ความล้มเหลวมักสร้างคนให้แข็งแกร่ง. เข้าถึงได้จาก
http://www.thipakamdee.blogspot.com/p/t.html.
พิชาวีร์ เมฆขยาย . (2560). 10 วิธีพัฒนา Growth Mindset กุญแจสำคัญสู่ความสำเร็จ. เข้าถึงได้จาก
https://www.bypichawee.co/single-post/10-howto-growthmindset.
พัชรี บอนคำ. (2560). แรงบันดาลใจ” ความมหัศจรรย์ของพลังชีวิต. เข้าถึงได้จาก http://www.thaihealth.or.th/.
มนัส เรือนเหลือ. (2555). แรงบันดาลใจ. เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow. org/posts/56054.
วิจารณ์ พานิช .(2558). แนวโน้มการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. เข้าถึงได้จาก
https://issuu.com/tlcspu/docs/special_lecture.
ศิริรัชส์ อินสุข. (2557). ความท้าทายการบริหารจัดการสู่องค์การแห่งการเรียนรู้. วารสารวิชาการสมาคม
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, ปีที่ 20 ฉบับที่ 1, หน้า 81-93.
ศิริลักษณ์ เบญจภุมริน. (2560). หน้าแถวและแนวทาง 21 ความพยายาม. เข้าถึงได้จาก
http://www.kamsondeedee.com/main/2009-07-31-07-07-02/855-21.
ศูนย์วิจัยจิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (2560). กรอบความคิดแบบเติบโต Growth Mindset รัก
เรียนรู้และชอบความท้าทาย. เข้าถึงได้จาก http://www.cepthailand.org/index.php?mo=59&id=1108752.
สมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. (2557). ความล้มเหลวในวันนี้ นำไปสู่ความสำเร็จในวันหน้า.
เข้าถึงได้จาก http://www.psychiatry.or.th/.
สาริศา เจนเขว้า และ เสวียน เจนเขว้า. (2560). การเป็นนักบริหารมืออาชีพในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสาร
มหาวิทยาลัยนครราชสีมา, ปีที่ 11 ฉบับที่ 3, หน้า 267-275.
สิทธิพล พรรณวิไล. (2561). เปลี่ยนวิธีคิดชีวิตก็เปลี่ยน เรื่องของ "Mindset" สิ่งสำคัญที่กำหนดเส้นทาง
ชีวิตของแต่ละคน. เข้าถึงได้จาก
ttps://nuuneoi.com/blog/blog.php?read_id=905.
สุกัญญา รอดระกำ (2561). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0. การประชุมวิชาการเสนอ
ผลงานวิจัยระดับชาติ “GRADUATE SCHOOL CONFERENCE 2018”, หน้า 577-579.
สุภาภรณ์ บุตรดีวงษ์ มีเงิน. (2555). ความล้มเหลว คืออะไร. เข้าถึงได้จาก
https://www.gotoknow.org/posts/137310
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. เข้าถึงได้จาก https://www.obec.go.th/wp-
content/uploads/2018/10/OBECPolicy62.pdf.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการการศึกษาขั้นพื้นฐานและศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ.
(2561). อัจฉริยะหรือพรสวรรค์ ไม่สำคัญ... เท่า Growth Mindset. เข้าถึงได้จาก
https://elibrary.git.or.th/book-detail/440.
อนุพล มิ่งมูล. (2560). ความพยายามคือเครื่องหมายของความสำเร็จทุกประการ. เข้าถึงได้จาก http://anuphon.com/.
Derick Meado. (2016). The Role of the Principal in Schools.
from http://teaching. about.com/od/admin/tp/Role-Of-The-Principal.htm
Doist. (2017). Stop Fearing Critical Feedback—Fear Not Getting It Instead. from
https://www.blog.doist.com/stop-fearing-critical-feedbac-6cc3e77fd53e.
Dowd-Higgins, C. (2018). Feedback: The Key to Self-Improvement on The Job.
from https://www.fairygodboss.com/articles/feedback-thekey-to-self-improvement-on-the-j.
Duckworth, A.L. (2015). The key to success, effort. from http://www.ightmeup.me/.
Dweck CS. Mindset: the new psychology of success. New York: Ballantine Books, 2006.
Dweck, C.S. (2015). Carol Dweck Revisits the 'Growth Mindset'. from
https://www.edweek.org/ew/articles/2015/09/23/carol-dweck-revisits-the-
growthmindset.htm.
_______. (2015). "Mindset Theory – Fixed vs. Growth Mindset (Dweck)," in Learning Theories.
from https://www.learning-theories.com/ mindset-theory-fixed-vs-growth-mindset-
dweck.html.
Dweck CS, Leggett EL. A social-cognitive approach to motivation and personality. Psychol Rev. 1988; 95: 256–273.
Falconer. (2007). How To Motivate Yourself –Self Motivation.
from http://www.pickthebrain.com/blog/how-to-motivate-yourself/.
Kid, W. (2018). Learn from mistakes better than mistakes and not learning.
from https://www.finnomena.com/wizard-kid/learn-from-mistakes/.
Khwanjai. (2016). Tolerance for success. Retrieved September 12, 2022, from
https://www.storylog.co/story/57e8515e527e4abc45bb03b1.
Modal. (2009). The Leadership Challenges.
from http://www.mbaconduct.blogspot.com/2009/03/leadership-challenges.html.
Newton, C. (2019). Face up to Feedback (Giving and Receiving Constructive Criticism).
Prosoft HCM. (2018). Facing the challenges of working life.
from https://www.prosofthcm.com/Article/Detail/16107.
S.J. Scott. (2017). Fixed Mindset vs. Growth Mindset: What REALLY Matters for Success.
from https://www.developgoodhabits.com/fixed-mindset-vs-growth-mindset/