จิตรกรรมป่าหิมพานต์ภายใต้แรงบันดาลใจศิลปะขอมในจังหวัดบุรีรัมย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การสร้างสรรค์จิตรกรรมป่าหิมพานต์ภายใต้แรงบันดาลศิลปะขอมในจังหวัดบุรีรัมย์ ได้รับแรงบันบาลใจมาจากความเชื่อเกี่ยวกับป่าหิมพานต์นำมาผสมผสานกับรูปแบบศิลปกรรมแบบขอมในจังหวัดบุรีรัมย์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการศึกษาความงามของป่าหิมพานต์ รูปแบบศิลปะแบบขอมในจังหวัดบุรีรัมย์ นำมาพัฒนาสร้างสรรค์เป็นผลงานจิตรกรรม โดยมีการศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ผลงานศิลปกรรมของศิลปิน จากนั้นจึงสร้างสรรค์ผลงานตามกระบวนการจิตรกรรม โดยได้เน้นสร้างผลงานให้ดูน่าค้นหา มีมิติที่หลากหลาย องค์ประกอบให้มีความซับซ้อนผสมผสานกับรูปแบบศิลปะขอม ทำให้ผลงานมีความแปลกใหม่สร้างความน่าสนใจให้กับผลงานมากยิ่งขึ้น ผลการสร้างสรรค์ ได้เกิดข้อค้นพบใหม่ คือการผสมผสานเรื่องราวเกี่ยวกับบรรยากาศของป่าหิมพานต์สร้างสรรค์ออกมาในรูปแบบศิลปะขอม มีความแปลกใหม่น่าสนใจ
Downloads
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ลิขสิทธิ์เป็นของวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ อนุญาตให้เผยแพร่เพื่อการศึกษาและวิจัย ในวงการวิชาการ ไม่อนุญาตการใช้ประโยชน์เพื่อการแสวงหากำไร
ข้อความที่ปรากฏในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้แต่ง ซึ่งวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ได้ประเมินคุณภาพตามหลักวิชาการ ผลกระทบอันเกิดจากความคิดเห็นของผู้แต่งเป็นความรับผิดชอบของผู้แต่งเอง
References
กรีธากร สังขกูล. (2559). ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้งในฐาน “ประเพณีสร้างสรรค์” ในสังคมไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โกศล พิณกุล. (2541). เทคนิคการวาดเขียน Drawing techniques. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
จริยา โกมลสิงห์. (2544). จิตนาการจากการสัตว์หิมพานต์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร
ฉัตร์ชัย อรรถปักษ์. (2552). องค์ประกอบของศิลปะ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
ชนะพล ผินสู่. (2564). ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง : พื้นที่พิธีกรรมและการสะท้อนอัตลักษณ์จังหวัดบุรีรัมย์. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ชลูด นิ่มเสมอ. (2553). องค์ประกอบของศิลปะ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
ทวีเดช จิ๋วบาง. (2537). ความคิดสร้างสรรค์ศิลปะ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. (2544). ทฤษฎีวาดเขียน. กรุงเทพฯ: เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง.
ธนภัทร รุ่งธนาภิรมย์. (2560). ทฤษฎีความงาม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: EARN concept.
ธิติพงศ์ พิรุณ. (2552). ปราสาทพนมรุ้ง : แนวทางการอนุรักษ์พิธีกรรมทางศาสนาเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ธีระพงษ์ จาตุมา. (2560). ศึกษาวิเคราะห์คติความเชื่อเรื่องป่าหิมพานต์ที่มีอิทธิพล ต่องานพุทธศิลป์ล้านนา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล. (2560). พจนานุกรมศัพท์ศิลปะประยุกต์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
สุชาติ เถาทอง. (2538). หลักการทัศนศิลป์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: นำอักษรการพิมพ์.
สุรศักดิ์ เจริญวงศ์. (2557). ภาพสัตว์หิมพานต์ในจินตนาการ. กรุงเทพฯ: ศิลป์สยามบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์.
สุวัฒน์ แสนขันติยรัตน์. (2549). จินตนาการแห่งสรวงสวรรค์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง
อารี สุทธิพันธ์. (2518). จิตรกรรมพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สารพันธ์ศึกษา.