รัฐตำรวจ: อำนาจทางกฎหมายของรัฐบาลไทยในการสอดส่องพลเมืองบนโลกไซเบอร์

Main Article Content

ทศพล ทรรศนกุลพันธ์

บทคัดย่อ

การสถาปนารัฐที่ใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือรับรองอำนาจในการสอดส่องควบคุมประชาชน และนำข้อมูลที่ได้จากการสอดส่องไปประกอบสำนวนฟ้องร้องดำเนินคดีต่อพลเมืองผู้ตื่นตัวทางการเมืองในลักษณะ “รัฐตำรวจ” แตกต่างจากการปกครองแบบ “นิติรัฐ” ที่รัฐจะใช้อำนาจปกครองภายใต้กรอบของกฎหมายเพื่อประกันสิทธิเสรีภาพตามกฎหมายของประชน บทความวิจัยนี้วิเคราะห์บทบาทของรัฐบาลไทยในการสอดส่องกิจกรรมของประชาชนโดยอาศัยการเพิ่มศักยภาพทางกฎหมายเพื่อเอื้อให้เกิดปฏิบัติการด้านข่าวกรองและสอดส่องได้ครอบคลุมขึ้นไปจนถึงการนำข้อมูลทำเป็นสำนวนฟ้องคดีในชั้นศาลในหลายกรณี แล้วจึงชี้ให้เห็นความกังวลที่เกิดจากแนวโน้มดังกล่าวเพื่อพยายามเสนอแนวทางในการป้องกันการสอดส่องตามอำเภอใจอันมีลักษณะการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัว สิทธิในข้อมูลส่วนบุคคล เสรีภาพในการแสดงออก ชุมนุมและสมาคม ที่บั่นทอนความมั่นใจของประชาชนในการมีส่วนร่วมทางการเมือง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ICT-Prachachat. “ประกาศแล้ว! 2กฎหมายฮอต'ไซเบอร์ซิเคียวริตี้-คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล'.” ประชาชาติธุรกิจ. แก้ไขล่าสุด 27 พฤษภาคม 2562, สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564, https://www.prachachat.net/ict/news-331574.

Thai PBS News. “ประมวลเหตุการณ์ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตประท้วง ‘ซิงเกิล เกตเวย์.’” Thai PBS (Thai PBS, October 1, 2015)” แก้ไขล่าสุด 1 ตุลาคม 2558” สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564, https://news.thaipbs.or.th/content/5617.

Warong ThaiPublica. “ชี้ยังไม่ดำเนินการ ‘ซิงเกิล เกตเวย์.’” ThaiPublica” แก้ไขล่าสุด 6 พฤศจิกายน 2558. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564 https://thaipublica.org/jabted_issue/ชี้ยังไม่ดำเนินการ-ซิง/

โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน. “กระทรวงดีอีออกประกาศชัด ผู้ให้บริการต้องลบข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงภายใน 24 ชั่วโมง.” Ilaw. แก้ไขล่าสุด 25 กรกฎาคม 2560. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564, https://ilaw.or.th/node/4575.

กองบรรณาธิการ The Standard. “ครม. ไฟเขียว เพิ่มหลักการร่างกฎหมาย NGO รวม 8 ประเด็น ต้องเปิดเผยข้อมูลองค์กร-งบการเงิน.” THE STANDARD. แก้ไขล่าสุด 29 มิถุนายน 2564. เข้าถึงเมื่อ 30 มิถุนายน 2564. https://thestandard.co/cabinet-increases-the-principle-of-drafting-ngo-law.โดยดูข้อมูลต้นทางมติคณะรัฐมนตรีได้ที่เว็บไซต์ทางการของรัฐบาลไทย https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/39334

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร. “ประวัติความเป็นมา. ISOC. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2564. https://www.isoc.go.th/about.php.

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรใ “ส่วนที่ 3 สถานการณ์ด้านความมั่นคง, ยุทธศาสตร์กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2560 – 2564.” (กรุงเทพฯ: กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร, 2560) หน้า 25 – 28.

การตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับ กฤษฎีกา เล่มที่ 134 ตอนที่ 10 ก (24 มกราคม 2560).

การตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับ กฤษฎีกา เล่มที่ 134 ตอนที่ 10 ก (24 มกราคม 2560).

ข่าวเนชั่นสุดสัปดาห์. “จัดโครงสร้างกอ.รมน. รับมือภัยความมั่นคงยุคใหม่.” 2 ธันวาคม 2562. เนชั่นสุดสัปดาห์. (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564). https://www.nationweekend.com/content/government_inside/3599.

ข่าวสด, 20 มิถุนายน 2551, หน้า 6.

นัชชา ตันติวิทยาพิทักษ์ และมุทิตา เชื้อชั่ง. “กอ.รมน.ยุคใหม่ใหญ่กว่าเดิม: หูตา-แขนขากองทัพ แทรกซึมทุกสมัย กระจายทุกพื้นที่.” ประชาไท. แก้ไขล่าสุด 19 กันยายน 2562. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564. https://prachatai.com/journal/2019/09/84410.

ประชาไท. “'นิรนาม_' ถูกจับคดีพ.ร.บ.คอมฯ เหตุทวิตเกี่ยวกับ ร.10 ศาลไม่ให้ประกัน อ้างเป็นเรื่องร้ายแรง.” ประชาไท. แก้ไขล่าสุด 20 กุมภาพันธ์ 2563. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564, https://prachatai.com/journal/2020/02/86426 ().

ประชาไท. “พระราชกฤษฎีกาตั้งตำรวจสืบสวนสอบสวนคดีทางเทคโนโลยีระดับกองบัญชาการเพิ่ม.” ประชาไท. แก้ไขล่าสุด 8 กันยายน 2563, สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564. https://prachatai.com/journal/2020/09/89430.

ประชาชาติธุรกิจ, 20 ตุลาคม 2548, หน้า 17.

ประชาชาติธุรกิจ, 9 ตุลาคม 2549, หน้า 43.

พระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2563. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับ กฤษฎีกา เล่มที่ 137 ตอนที่ 71 ก (8 กันยายน 2563).

พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 มาตรา 7(1). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับ กฤษฎีกา เล่มที่ 125 ตอนที่ 39 ก (27 กุมภาพันธ์ 2551): 35.

พระราชบัญญัติข่าวกรองแห่งชาติ พ.ศ.2528 มาตรา 4 (20 สิงหาคม 2528): 2.

พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2559 มาตรา 5. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับ กฤษฎีกา เล่มที่ 133 ตอนที่ 80 ก (15 กันยายน 2559): 1.

มติชน, 15 พฤศจิกายน 2550, หน้า 6.

มติชน, 18 ตุลาคม 2550, หน้า 2.

มติชน, 18 มกราคม 2551, หน้า 11.

มติชน, 20 ตุลาคม 2544, หน้า 24

มติชน, 22 ธันวาคม 2549, หน้า 16.

มติชน, 24 กันยายน 2545, หน้า 13

มติชน, 3 กรกฎาคม 2545, หน้า 45

มติชนสุดสัปดาห์, 27 ตุลาคม 2549, หน้า 25 – 26.

สภาความมั่นคงแห่งชาติ. “สถานการณ์และความเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคงในระยะ 7 ปี.” นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. 2558 -2564, หน้า 3 – 8.

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ, “ทำไมต้องลงทะเบียนซิมโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบเติมเงิน.” (2558). กสทช. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2564. http://sim.nbtc.go.th/why.php

Balule, Badala Tachilisa, and Bojosi Otlhogile. “Balancing the Right to Privacy and the Public Interest: Surveillance by the State of Private Communications for Law Enforcement in Botswana.” Statute Law Review 37, no. 1 (July 24, 2015): 1–14.

Boghosian, Heidi. Spying on Democracy: Government Surveillance, Corporate Power, and Public Resistance. San Francisco: City Lights Publishers, 2013.

Chapman, Brian. “‘The Police-State.’ Government and Opposition 3, No. 4 .” Cambridge University Press, 1968. Last modified 1968. Accessed July 25, 2021. https://www.jstor.org/stable/44481889.

Foucault, Michel. Discipline and Punish: The Birth of the Prison. New York: Vintage Books, 1995.

Graham, Stephen, and David Wood. “Digitizing Surveillance: Categorization, Space, Inequality.” Critical Social Policy 23, no. 2 (2003): 227–248.

Greenwald. G., “The Harm of Surveillance, No place to hide :Edward Snowden, the NSA and the Surveillance State,” (New York: Metropolitan Books, 2014), 170-209

Losey, J., “Surveillance of Communications: A Legitimization Crisis and the Need for Transparency.” International Journal of Communication, 9(10) (2015): 3450–3459.

Mercer, Loren D. “Computer Forensics: Characteristics and Preservation of Digital Evidence.” FBI Law Enforcement Bulletin 73, no. 3 (2004): 28–32.

Milanovic, M., “Human rights treaties and foreign surveillance: Privacy in the digital age.” Harvard International Law Journal, 56(1) (2015): 81-146.

Pinkaew Laungaramsri. “Mass surveillance and the militarization of cyberspace in post-coup Thailand.” ASEAS – Austrian Journal of South-East Asian Studies, 9(2) (2016): 195-214.

Puangthong Pawakapan. “Infiltrating Society: The Thai Military’s Internal Security Affairs,” ISEAS – Yusof Ishak Institute, 2021.

Slobogin, C., “Policing, databases, and surveillance. Criminology.” Criminal Justice, Law & Society, 18(3) (2017): 70-84.

The United Nations High Commissioner for Human Rights. Report of the Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights: The right to privacy in the digital age. (New York: United Nations, 2014), https://www.ohchr.org/EN/HRBodies/HRC/RegularSessions/Session27/Documents/A-HRC-27-37_en.doc

Utset, M. A., “Digital Surveillance and Preventive Policing.” Connecticut Law Review, 49(5) (2017): 1453-1494.

v., s. “Police State.” Merriam-Webster. Merriam-Webster, n.d. Accessed July 25, 2021. https://www.merriam-webster.com/dictionary/police%20state.

Yilma, K. M., “The United Nations Data Privacy System and Its Limits.” International Review of Law. Computers & Technology 33. no. 2 (2018): 224-248.