“เสียงร่ำไห้ที่โศกเศร้า” กับ “การละเลยอารมณ์ความรู้สึก” ของกฎหมาย: การวิพากษ์กฎหมายลักษณะละเมิดผ่านแว่นตาประวัติศาสตร์อารมณ์ความรู้สึก

Main Article Content

พสิษฐ์ โฆษิตชัยพิทักษ์

บทคัดย่อ

บทความนี้เสนอวิธีวิทยาแบบกฎหมายและประวัติศาสตร์อารมณ์ความรู้สึกในการศึกษาและทำความเข้าใจกฎหมายลักษณะละเมิดที่เกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการกำหนดค่าเสียหายต่อจิตใจให้แก่บิดามารดาที่สูญเสียบุตรจากการละเมิดของบุคคลอื่น


ผลวิจัยปรากฏว่า หนึ่ง ความโศกเศร้าเสียใจเป็นพจนารมณ์อย่างหนึ่ง สอง กฎหมายลักษณะละเมิดในส่วนที่เกี่ยวกับการกำหนดค่าเสียหายต่อจิตใจให้แก่บิดามารดาที่สูญเสียบุตรไปเป็นระบอบอารมณ์ความรู้สึกอย่างหนึ่ง สาม การที่กฎหมายลักษณะละเมิดกลายเป็นระบอบอารมณ์ความรู้สึกที่เข้มงวดเกินไปนำไปสู่การสถาปนาความรู้สึกทุกข์ทนทางความรู้สึกที่บิดามารดาต้องไปค้นหาที่พักพิงทางอารมณ์ และสี่ กระบวนการพิพากษารมณ์ได้ทำให้ศาลเป็น “ตัวละคร” ที่สำคัญในการทำหน้าที่เปลี่ยนเรื่องอารมณ์ความรู้สึกให้กลายเป็นเรื่องของกฎหมายโดยแท้


โดยสรุป ผู้เขียนจึงเสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายลักษณะละเมิดให้สามารถคิดค่าเสียหายต่อจิตใจเช่นว่านี้ได้ หรือมิฉะนั้นแล้ว ผู้เขียนแนะนำให้ศาลตีความกฎหมายลักษณะละเมิดที่มีอยู่ให้กว้างขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤษณ์พชร โสมณวัตร, และสายชล สัตยานุรักษ์. “พิพากษารมณ์: ระบอบกฎหมายแห่งความรู้สึกเดือดร้อนรำคาญของชนชั้นกลางไทย.” หนังสือประมวลบทความในการประชุมวิชาการนิติสังคมศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ “จินตนาการใหม่ ภูมิทัศน์นิติศาสตร์ไทย” ณ โรงแรมฟูราม่า จังหวัดเชียงใหม่, วันที่ 20 พฤศจิกายน 2563.

กฤษณ์พชร โสมณวัตร. “พิพากษารมณ์: ระบอบกฎหมายแห่งความรู้สึกเดือดร้อนรำคาญของชนชั้นกลางไทย.” ใน อารมณ์ความรู้สึกชนชั้นกลางไทยในคืนวันที่ผันแปร, บรรณาธิการโดย สายชล สัตยานุรักษ์, 110-149. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.), 2566.

เขมภูมิ ภูมิถาวร. กฎหมายลักษณะละเมิดรวมหมายเหตุท้ายคำพิพากษาฎีกาของศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1447/2523

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1550/2518

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1742/2499

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2271/2562

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 237/2507

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 247/2538

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2816/2528

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 292/2502

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 348-400/2466

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 477/2514

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5751/2544

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6083/2546

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7121/2560

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7291/2557

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 789/2502

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 946-947/2475

จักรินทร์ โกเมศ. “ค่าเสียหายสำหรับความเสียหายทางจิตใจตามกฎหมายลักษณะละเมิด.” วารสารกระบวนการยุติธรรม 5, ฉ. 1 (2555): 79-87.

จิตติ ติงศภัทิย์. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรียงมาตรา ว่าด้วยจัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้ ละเมิด บรรพ ๒ มาตรา 395-452. กรุงเทพฯ: กองทุนศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. ภาษากับการเมือง/ความเป็นการเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิภาษา, 2556.

ธานิศ เกศวพิทักษ์. คำอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ภาค 1-2 (มาตรา 1-156) เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2564.

นวลพรรณ ง้าวสุวรรณ. “ค่าเสียหายทางศีลธรรม.” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517).

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ประยูร กันไพเราะ. “ความรับผิดทางละเมิดในความเสียหายทางจิตใจที่เกิดกับผู้ได้รับความเสียหายลำดับสอง.” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554).

ปีดิเทพ อยู่ยืนยง. คำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิด. เชียงใหม่: ห้างหุ้นส่วนจำกัด วนิดาการพิมพ์ จำกัด, 2564.

พรรณรายรัตน์ ศรีไชยรัตน์. “กฎหมายแพ่งลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้.” พิมพ์ครั้งที่ 2. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 177215 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554.

พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551.

พิมลพรรณ อิศรภักดี. “ทัศนคติของคนรุ่นใหม่เกี่ยวกับการแต่งงานและการมีบุตร.” ใน ประชากรและสังคม 2557: การเกิดกับความมั่นคงในประชากรและสังคม, บรรณาธิการโดย ยุพิน วรสิริอมร, จงจิตต์ ฤทธิรงค์, ศุทธิดา ชวนวัน, และ พจนา หันจางสิทธิ์, 199-212. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557.

พิศวาท สุคนธพันธุ์. “ความเสียหายทางจิตใจของระบบกฎหมายคอมมอนลอว์.” วารสารนิติศาสตร์ 12, ฉ. 2 (2525). อ้างถึงใน จักรินทร์ โกเมศ. “ค่าเสียหายสำหรับความเสียหายทางจิตใจตามกฎหมายลักษณะละเมิด.” วารสารกระบวนการยุติธรรม 5, ฉ. 1 (2555): 79-87.

เพ็ง เพ็งนิติ. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยละเมิด พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: บริษัท กรุงสยาม พับลิชชิ่งจำกัด, 2561.

ไพจิตร ปุญญพันธุ์. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติบรรณการ, 2529.

ภัทรศักดิ์ วรรณแสง. คำอธิบายกฎหมายละเมิด. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์วิญญูชน จำกัด, 2560.

ภาคิน นิมมานนรวงศ์. “ปริทัศน์ประวัติศาสตร์อารมณ์ (Review on the History of Emotions).” วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ 1, ฉ. 1 (2557): 107-154.

ภูเบศร์ สมุทรจักร, มนสิการ กาญจนะจิตรา, จงจิตต์ ฤทธิรงค์, และ ปิยวัฒน์ เกตุวงศา. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการวิจัย “ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย.” นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559.

ภูเบศร์ สมุทรจักร, และนิพนธ์ ดาราวุฒิมาประกรณ์. “ไลฟสไตล์ แผนการดำเนินชีวิต กับแนวคิดการมีบุตรของเจเนอเรชันวาย.” ใน ประชากรและสังคม 2557: การเกิดกับความมั่นคงในประชากรและสังคม, บรรณาธิการโดย ยุพิน วรสิริอมร, จงจิตต์ ฤทธิรงค์, ศุทธิดา ชวนวัน, และ พจนา หันจางสิทธิ์, 213-231. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557.

มนสิการ กาญจนะจิตรา, กัญญาพัชร สุทธิเกษม, และ รีนา ต๊ะดี. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ การส่งเสริมการมีบุตรผ่านการสร้างสมดุลระหว่างการทำงานและการสร้างครอบครัวที่มีคุณภาพ. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559.

มานิตย์ จุมปา. คำอธิบายกฎหมายความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.

ร. แลงกาต์. คำสอนชั้นปริญญาโท พุทธศักราช ๒๔๗๘ เล่มที่ ๒: ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (กฎหมายเอกชน) ละเมิด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง, 2491.

วริษา สุระพัฒน์. “การศึกษาทัศนคติต่อการมีบุตรของกลุ่มเจเนอเรชั่นวายในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.” (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการ คณะการจัดการ, มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559).

ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์. คำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์วิญญูชน จำกัด, 2560.

ศิริกุล สิริอรุณรุ่งโรจน์. “ปัญหาในการกำหนดค่าสินไหมทดแทน: ศึกษากรณีค่าเสียหายทางจิตใจและค่าเสียหายเชิงลงโทษ.” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554).

สันต์สุดา สิทธิประเสริฐ. “การใช้ดุลพินิจของศาลไทยในการพิจารณาค่าสินไหมทดแทนกรณีละเมิดเป็นเหตุให้ผู้ถูกละเมิดถึงแก่ความตาย.” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิติเศรษฐศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์และคณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2560).

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. บันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาประกอบร่างพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. .... เรื่องเสร็จที่ 525/2550, สิงหาคม 2550. อ้างถึงใน มานิตย์ จุมปา. คำอธิบายกฎหมายความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.

สิงห์ สุวรรณกิจ. “สัมมนาประวัติศาสตร์อารมณ์ความรู้สึกและผัสสาการ.” เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 004722 ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2565.

โสภณ รัตนากร. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหนี้: บทเบ็ดเสร็จทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติบรรณการ, 2556.

ภูเบศร์ สมุทรจักร “เพราะโครงสร้างประชากรเปลี่ยนไป เราจึงเปลี่ยนแปลง”.” Knowledge Farm. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2566, https://knowledgefarm.tsri.or.th/interview-bhubate/.

“Vilomah: Origin & What It Means?.” CLOCR. Accessed August 07, 2023. https://clocr.com/blogs/vilomah/.

Barclay, Katie. “The Practice and Ethics of the History of Emotions.” In Sources for the History of Emotions: A Guide, edited by Katie Barclay, Sharon Crozier-de Rosa, and Peter N. Stearns, 26-37. London and New York: Routledge, 2021.

Barclay, Katie. The History of Emotions: A Student Guide to Methods and Sources. United Kingdom: Red Globe Press, 2020.

Boddice, Rob. The History of Emotions. Manchester: Manchester University Press, 2018.

C, Sreechinth. Ronald Reagan’s Legacy of Words: 1000+ Quotes of Ronald Reagan. N.p.: UB Tech, 2018.

Civ.22 Oct. 1946, D.1947.59; 15 févr. 1956, D.1956.350. อ้างถึงใน นวลพรรณ ง้าวสุวรรณ. “ค่าเสียหายทางศีลธรรม.” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517).

Colwell, Tania M. “Emotives and Emotional Regimes.” In Early Modern Emotions: An Introduction, edited by Susan Broomhall, 7-10. London and New York: Routledge, 2017.

Dixon, Thomas. The History of Emotions: A Very Short Introduction. Oxford, United Kingdom: Oxford University Press, 2023.

Dodman, Thomas. “Theories and Methods in the History of Emotions.” In Sources for the History of Emotions: A Guide, edited by Katie Barclay, Sharon Crozier-de Rosa, and Peter N. Stearns, 15-25. London and New York: Routledge, 2021.

Nolan, Donal. “Alcock v Chief Constable of South Yorkshire Police (1991).” In Landmark cases in the Law of Tort, edited by Charles Mitchell and Paul Mitchell, 273-309. Oxford and Portland, Oregon: Hart Publishing, 2010.

Plamper, Jan, William Reddy, Barbara Rosenwein, and Peter Stearns. “The History of Emotions: An Interview with William Reddy, Barbara Rosenwein, and Peter Stearns.” History and Theory 49, no. 2 (2010): 237-265.

Plamper, Jan. The History of Emotions: An Introduction. Edited by Ute Frevert and Thomas Dixon. Translated by Keith Tribe. Oxford, United Kingdom: Oxford University Press, 2015.

Reddy, William M. “Against Constructionism: The Historical Ethnography of Emotions.” Current Anthropology 38, no. 3 (1997): 327-351.

Reddy, William M. The Navigation of Feeling: A Framework for the History of Emotions. Cambridge, United Kingdom: Cambridge University Press, 2004.

Rosenwein, Barbara H. “Problems and Methods in the History of Emotions.” Passion in Context: Journal of the History and Philosophy of Emotion 1 (2010): 1-32.

Rosenwein, Barbara H. “Worrying about Emotions in History.” The American Historical Review 107, no. 3 (2002): 821-845.

Rosenwein, Barbara H. Emotional Communities in the Early Middle Ages. Ithaca and London: Cornell University Press, 2006.

Rosenwein, Barbara H. Generations of Feeling: A History of Emotions, 600-1700. Cambridge, United Kingdom: Cambridge University Press, 2016.

Rosenwein, Barbara H., and Riccardo Cristiani. What is the History of Emotion?. Cambridge, United Kingdom: Polity Press, 2018.

Stearns, Peter N., and Carol Z. Stearns. “Emotionology: Clarifying the History of Emotions and Emotional Standards.” The American Historical Review 90, no. 4 (1985): 813-836.