บทความแปล ทำไมเขาจึงลุกขึ้นสู้? ความเป็นจริงในท้องถิ่นของขบวนการเกษตรกรใน ทศวรรษ 1970 ของประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
ขบวนการเกษตรกรในประเทศไทยได้ร่วมตัวกันเคลื่อนไหวอย่างเข้มข้นในช่วงกลางทศวรรษ 1970 การศึกษานี้มุ่งศึกษาเน้นที่การเคลื่อนไหวในระดับหมู่บ้านโดยต้องการเข้าใจว่าทำไมกลุ่มเกษตรกรจึงจะต้องเสี่ยงในการก่อการประท้วงและพวกเขาทำได้อย่างไรกัน การศึกษาพบว่าขบวนการนี้จัดตั้งขึ้นโดยชาวบ้านกลุ่มเล็กหรือดำเนินการผ่านเครือข่ายของบุคคลมากกว่าจะเป็นการระดมชาวนาผู้ด้อยโอกาสในวงกว้าง ความสำนึกในเรื่องของความยุติธรรมผลักดันให้ชาวบ้านลุกขึ้นประท้วงไม่ใช่แค่ความคับข้องใจทางเศรษฐกิจเท่านั้น หากพิจารณาจากกรณีการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในภาคเหนือและภาคกลางก็ควรพิจารณาว่าโครงสร้างขององค์กรของสองภาคแตกต่างกันและวิธีต่อสู้ของชาวนาสองภาคแตกต่างกันมากกว่าที่จะเป็นการเคลื่อนไหวในระดับชาติที่เป็นหนึ่งเดียวกัน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution 4.0 International License.
O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)
O กองบรรณาธิการ CMU Journal of Law and Social Sciences ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
กนกศักดิ์ แก้วเทพ. รายงานผลการวิจัยเรื่องประวัติการเคลื่อนไหวของชาวนาจากอดีต-ปัจจุบัน: บทวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์การเมือง. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2526.
กนกศักดิ์ แก้วเทพ. บทวิเคราะห์สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย: เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยชาวนายุคใหม่. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530..
คนเมือง. 2517. “นักศึกษายุชาวนาแข็งข้อต่อเจ้าของนา.” 30 ตุลาคม 2517.
จักรพงษ์ คำบุญเรือง. “เยือนวัดเก่า...เจ้าเมืองสร้าง “วัดจักรคำภิมุข” และตำนานการทำนาหลวง.” เชียงใหม่นิวส์, 18 ตุลาคม 2552.
ชินอิชิ ชิเกโตมิ, และอรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. ต่อสู้เพื่ออะไร: ประวัติชีวิตของพ่อสิงห์ชัย ธรรมพิงค์ นักสู้ประชาชน. เชียงใหม่: คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลันเชียงใหม่, 2561.
ไชยยศ เหมะรัชตะ. รายงานการวิจัยเรื่องการแก้ไขความไม่เป็นธรรมในกฎหมายขายฝาก. กรุงเทพฯ: สำนักงานการสภาวิจัยแห่งชาติ, 2518.
ทวี ศรีสงคราม. “ความคับแค้นของชาวนา: เขียนตามประสาชาวนา” ใน ชาวนาไทยปฏิวัติ: แนวทางต่อสู้ของผู้ถูกกดขี่ขูดรีด, บรรณาธิการโดย ทวี ศรีสงคราม, สนอง วิริยะผล, สุนีรัตน์ เตลาม, อ. อิทธิพล, และ นิตย์ ทานตะวัน, 1-20. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ อ. อิทธิพล, 2517.
นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์, บรรณาธิการ. 3 ทศวรรษสหพันธ์ชาวนา, วันที่ 19 พฤศจิกายน 2547, ในโอกาสครบรอบ 30 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย (สชท.). กรุงเทพฯ: กลุ่มเพื่อนประชาชน, 2557.
ประชาธิปไตย. “ชาวนา 11 จังหวัดชุมนุมที่สนามหลวง เรียกร้องให้รัฐบาลช่วยเหลือ 3 ข้อ,” 2 มีนาคม 2517.
ประชาธิปไตย. “ตัวแทนชาวนาขอพบนายก ติดต่อศูนย์นิสิตฯ ช่วยเหลือ,” 1 มีนาคม 2517.
ประชาธิปไตย. “ชาวนานัดเดินขบวนทั่วประเทศ,” 18 กรกฎาคม 2517.
ประชาธิปไตย. “ตัวแทนชาวนายื่นคำขาดรัฐบาลเลิกทำนา-ลาออกจากประชาชน,” 10 สิงหาคม 2517.
ประชาธิปไตย. “ชาวนา 8 จังหวัดประกาศตัดเยื่อใยรัฐบาล ทนถูกหลอกต่อไปไม่ไหว-ขออยู่ตามลำพัง,” 18 กันยายน 2517.
ประชาธิปไตย. “ชาวนากำลังจะสิ้นความอดกลั้น,” 17 ตุลาคม 1974.
ประชาธิปไตย. “รองนายกค้านชาวนาถวายฎีกา อ้างว่าดึงในหลวงยุ่งการเมือง,” 21 พฤศจิกายน 2517.
ประชาธิปไตย. “ระบุอาชีวะก่อกวนชาวนามีเบื่องหลัง ตัวแทนชาวนาท้าถ้าพูดไม่จริงให้ยิงทิ้ง,” 24 พฤศจิกายน 2517.
ประชาธิปไตย. “ชาวนาภาคเหนือร่วมรบ คึกฤทธิ์ปรึกษาครม.ด่วน,” 5 พฤษภาคม 2518.
ประชาธิปไตย. “ครม.ไม่ยอมอ่อนข้อ ชาวนาประกาศสู้ในชนบท,” 7 พฤษภาคม 2518.
ประชาธิปไตย. “ศูนย์บริจาคเงินให้ชาวนาป้องกันตัว,” 2 สิงหาคม 2518.
ผดุงศักดิ์ พื้นแสน. “การต่อสู้ของกระบวนการนักศึกษาประชาชนภาคเหนือ.” ใน จดหมายเหตุ: ความเคลื่อนไหวนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่, บรรณาธิการโดย ภิญญพันธ์ พจนะลาวัณย์, 3-32. เชียงใหม่: กลุ่มนักเรียนประวัติศาสตร์ (เพื่อ) ประชาชน, 2550.
ไพบูลย์ สุขสุเมฆ. “เพียงเริ่มต้นว่าจะมีการปฏิรูปที่ดินชาวนาก็ยิ่งหมดที่ดินทำกินเพราะความหวาดกลัวของนายทุนเหตุเกิดขึ้นแล้วที่บางมูลนากและตะพานหิน.” สยามรัฐ, 16 พฤษภาคม 2517.
วิชชนา’22. “สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย คืออะไร.” ใน จำรัส ม่วงยาม: ผู้นำชาวนาที่ไม่ใช่คนสุดท้าย, บรรณาธิการโดย กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม, 67-133. กรุงเทพฯ: กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม, 2522.
สนอง วิริยะผล. “การต่อสู้ของชาวนาไทย: ขบวนการอันยาวเหยียดของผู้ถูกกดขี่ขูดรีดมาช้านาน.” ใน ชาวนาไทยปฏิวัดิ: แนวทางต่อสู้ของผู้ถูกกดขี่ขูดรีด, บรรณาธิการโดย ทวี ศรีสงคราม, สนอง วิริยะผล, สุนีรัตน์ เตลาม, อ. อิทธิพล, และ นิตย์ ทานตะวัน, 21-109. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ อ. อิทธิพล, 2517.
สยามรัฐ. “งานชิ้นแรกของรัฐบาลใหม่ใช้อมุนาจ ม. ๑๗ จัดการนายทุนเงินกู้ที่ขูดรีดชาวนา,” 27 พฤษภาคม 2517.
สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. การไร้ที่ดินทำกินของเกษตรกรในจังหวัดภาคเหนือตอนบน พ.ศ. 2524. กรุงเทพฯ: สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม, 2527.
อธิปัตย์. “รัฐบาลช่วยไม่จริง ชาวนาพร้อมสู้อีก,” 4-6 มีนาคม 2518.
Ammar Siamwalla, Suthad Setboonsarng, and Direk Patamasiriwat. “Agriculture”. In The Thai Economy in Transition, edited by Peter G. Warr, 81-117. Cambridge: Cambridge University Press, 1993.
Anan Ganjanapan. “The Partial Commercialization of Rice Production in Northern Thailand (1900–1981).” (Doctoral dissertation, Graduate School, Cornell University, 1984).
Bangkok Post. “Farmers Carry Loan Fight to Bangkok,” 26 February 1974.
Bangkok Post. “Farm Rent Dispute Unsolved,” 1 August 1974.
Bangkok Post. “Farmers’ Rental Dispute Goes on,” 6 August 1974.
Boonpoom Senarak. “Land Alienation of the Farmers: A Case Study in Amphoe Bangmun Nak Changwad Phichit Prior to 1974.” (Master’s Thesis, Faculty of Economics, Thammasat University, 1976).
Bowie, Katherine. A. Rituals of National Loyalty: An Anthropology of the State and the Village Scout Movement in Thailand. New York: Columbia University Press, 1997.
Bowie, Katherine, and Brian Phelan. “Who is Killing the Farmers?.” Bangkok Post Sunday Magazine, 17 August 1975.
Chakrit Noranitidungkarn, and A. Clarke Hagensick. Modernizing Chiengmai: A Study of Community Elites in Urban Development. Bangkok: National Institute of Development Administration, 1973.
Cohen, Paul. “Problems of Tenancy and Landlessness in Northern Thailand.” Developing Economies 21, no. 3 (1983).: 244-266.
Douglass, Mike. “Regional Integration on the Capitalist Periphery: The Central Plains of Thailand.” Research Report Series no. 15. The Hague: Institute of Social Studies, 1984.
Feeny, David. Political Economy of Productivity: Thai Agricultural Development 1880–1975. Vancouver: University of British Columbia Press, 1982.
Haberkorn, Tyrell. Revolution Interrupted: Farmers, Students, Law, and Violence in Northern Thailand. Madison: Wisconsin University Press, 2011.
Kanoksak Kaeothep. “The Political Economy of Modern Thai Peasant Movement: A Case of the Farmers’ Federation of Thailand (FFT), 1973–1976.” paper no. 2805. Faculty of Economics, Chulalongkorn University, 1985.
Kemp, Jeremy. “Kinship and Locality in Hua Kok.” Journal of Siam Society 70, no. 1 (1982): 101-113.
Kraiyudht Dhiratayakinant, ed. Thailand – Profile 1975. Bangkok: Voice of the Nation, 1975.
Krirkkiat Phipatseritham. Trends in Land Tenure and Security. Bangkok: Thai University Research Association, 1979.
Morell, David, and Chai-anan Samudavanija. Political Conflict in Thailand: Reform, Reaction, Revolution. Cambridge: Oelgeschlager, Gunn & Hain, 1981.
Murashima, Eiji. “Nanaju nendai ni okeru tai nomin undo no tenkai: tai nomin no seiji kankyo to seiji kozo.” [The development of peasant movement in Thailand in the 1970s]. Ajia Keizai 21, no. 2 (1980): 2-31.
National Statistical Office (NSO). 1978 Agricultural Census Report Thailand, Northern Region. Bangkok: NSO, 1980a.
National Statistical Office (NSO). 1978 Agricultural Census Report Thailand, Changwat Chiang Mai. Bangkok: NSO, 1980b.
Pasuk Phongpaichit, and Chris Baker. Thailand: Economy and Politics. Oxford: Oxford University Press, 1995.
Scott, James C. The Moral Economy of the Peasant: Rebellion and Subsistence in Southeast Asia. New Haven: Yale University Press, 1976.
Shigetomi, Shinichi. Cooperation and Community in Rural Thailand: An Organizational Approach of Participatory Rural Development. Tokyo: Institute of Developing Economies, 1998.
Shigetomi, Shinichi. “Four decades of development in Thailand’s Rural Sector and the Role of Government.” In Rural Development and Agricultural Growth in Indonesia, the Philippines and Thailand, edited by Takamasa Akiyama and Donald F. Larson, 295-378. Canberra: Asia Pacific Press, 2004.
Snow, David A., Sarah A. Soule, and Hanspeter Kriesi. “Mapping the Terrain”. In The Blackwell Companion to Social Movements, edited by David A. Snow, Sarah A. Soule, and Hanspeter Kriesi, 3-16. Malden, Massachusetts: Blackwell, 2007.
Suehiro, Akira. “Land Reform in Thailand: The Concept and Background of the Agricultural Land Reform Act of 1975.” Developing Economies 19 no. 4 (1981): 314-347.
Turton, Andrew. “The Current Situation in the Thai Countryside”. In Thailand: Roots of Conflict, edited by Andrew Turton, Jonathan Fast, and Malcom Caldwell, 104-142. Nottingham: Spokesman, 1978.
Witayakorn Chiengkul. The Effects of Capitalist Penetration on the Transformation of the Agrarian Structure in the Central Region of Thailand (1960–1980). Bangkok: Chulalongkorn University Social Research Inst, 1983.