สำรวจปรัชญากฎหมายกับสังคมวิทยาเพื่อคลี่คลายปมสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับ กฎหมาย

Main Article Content

ทศพล ทรรศนพรรณ
ภาสกร ญี่นาง

บทคัดย่อ

ปรากฏการณ์ทางสังคมที่เกี่ยวกับกฎหมายและความอยุติธรรมที่ดำรงอยู่ในสังคมไทย สะท้อนให้เห็นความจำเป็นในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำของมนุษย์กับเงื่อนไขทางสังคมที่แวดล้อมอยู่ เพื่อวิเคราะห์ว่าสาเหตุของปัญหานั้นเป็นเรื่องราวเฉพาะเหตุการณ์ที่เกิดจากความชั่วร้ายของมนุษย์รายคน หรือเป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากเงื่อนไขทางสังคมอันทำให้เกิดปัญหาดังกล่าวซ้ำแล้วซ้ำเล่า เมื่อสำรวจย้อนไปในประวัติศาสตร์ความคิดทางสังคมวิทยาจะพบปรัชญากฎหมายที่นักคิดคนสำคัญในสำนักต่างๆ ได้แสวงหาแนวทางวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบในลักษณะบทนิยามและบทวิเคราะห์เกี่ยวกับ โครงสร้างรัฐและกฎหมาย การปรับเปลี่ยนการกระทำของมนุษย์โดยการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคม หรือในทางกลับกันการผลักดันการเปลี่ยนแปลงทางสังคมก็เกิดจากเครือข่ายทางสังคมของมนุษย์ที่ร่วมกันเสนอโครงการปฏิวัติหรือปฏิรูปสังคม โดยมุ่งเป้าไปที่กฎหมายอันเป็นโครงสร้างของรัฐ และยังใช้กฎหมายเป็นวิธีการในการขับเคลื่อนสังคมให้ก้าวไปตามเส้นทางที่ออกแบบกฎหมายไว้เป็นโครงสร้างทางสังคมอีกด้วย

Article Details

How to Cite
ทรรศนพรรณ ท., & ญี่นาง ภ. . (2024). สำรวจปรัชญากฎหมายกับสังคมวิทยาเพื่อคลี่คลายปมสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับ กฎหมาย. CMU Journal of Law and Social Sciences, 17(2), 116–144. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/274392
บท
บทความวิจัย

References

Adamson, Walter L. Transformism and Crisis of Authority: Hegemony and Revolution. Antonio Gramsci’s Political and Cultural Theory. Los Angeles: University of California Press, 1980.

Bourdieu, Pierre. Outline of a Theory of Practice. Cambridge: Cambridge University Press, 1977.

———. Practical Reason: On the Theory of Action. Cambridge: Polity Press, 1998.

Cicero, Marcus Tullius. On the Laws. Translated by David Fott. Ithaca: Cornell University Press, 2014.

Edwards, Michael. Civil Society. Cambridge: Polity Press, 2004.

Femia, Joseph. “Hegemony and Consciousness in the Thought of Antonio Gramsci.” Political Studies 23, no. 1 (1975).

Giddens, Anthony. The Constitution of Society: Outline of the Theory of Structuration. Los Angeles: University of California Press, 1984.

Goffman, Erving. The Presentation of Self in Everyday Life. Middlesex: Penguin, 1959.

Hunt, Alan. “The Theory, Method and Politics of Critical Legal Theory.” Bulletin of the Australian Society of Legal Philosophy 9, no. 1.

Lechte, John. Fifty Key Contemporary Thinkers: From Structuralism to Postmodernity. London: Routledge, 1994.

Morrison, Donald R. “The Utopian Character of Plato’s Ideal City.” In The Cambridge Companion to Plato's Republic, edited by G. R. F. Ferrari, 231–258. Cambridge: Cambridge University Press, 2007.

Russell, Jeremiah H. “When Philosophers Rule: The Platonic Academy and Statesmanship.” History of Political Thought 33, no. 2 (2012).

Slattery, Martin. Key Ideas in Sociology. Cheltenham: Nelson Thornes, 2003.

เชษฐา พวงหัตถ์. โครงสร้าง-ผู้กระทำการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2548.

เอก ทรัพย์ตั้งวัฒนา และสิริพรรณ นกสวน. คำและความคิดในรัฐศาสตร์ร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.

เอื้อมพร ทิพย์เดช. “มายาคติในนิทานพื้นบ้านล้านนา.” พิฆเนศวร์สาร 14, ฉ. 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561).

กรรณิการ์ เล็กบุญญาสิน. โลกคลาสสิค: ประวัติศาสตร์โบราณของกรีซ-โรม เฮลลาส-เฮลเลนิสติค, สาธารณรัฐ-จักรวรรดิโรมัน. เชียงใหม่: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548.

กาญจนา แก้วเทพ. การศึกษาสื่อมวลชนด้วยทฤษฎีวิพากษ์ (Critical Theory): แนวคิดและตัวอย่างงานวิจัย. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์, 2544.

จรัญ โฆษณานันท์. นิติปรัชญาแนววิพากษ์ (Critical Legal Philosophies). กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2550.

———. นิติปรัชญา. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2544.

ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์. ทฤษฎีไร้ระเบียบ (Chaos Theory) กับทางแพร่งของสังคมสยาม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิภูมิปัญญา, 2537.

นพพร ประชากุล. มายาคติ: สรรนิพนธ์จาก Mythologies ของ Roland Barthes. แปลโดย วรรณพิมล อังคศริสรรพ. กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2549.

ปรีดี เกษมทรัพย์. นิติปรัชญา. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2541.

พงษสวัสดิ์ สวัสดิพงษ์. รวมบทความทฤษฎีปฏิสังสรรค์. ม.ป.ท., ม.ป.ป.

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. พระบรมราโชวาท ในพิธีเปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ณ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี วันที่ 11 ธันวาคม 2512.

พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). ปรัชญากรีก: บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สยาม, 2544.

พิศาล มุกดารัศมี. “ฟรีดริค นิทเช่ ว่าด้วยแนวคิดรัฐและประชาธิปไตยสมัยใหม่.” รัฐศาสตร์สาร 21, ฉ. 2.

ภาสกร ญี่นาง. “กฎหมายและการกดปราบทางการเมือง สู่ ‘วิกฤตการณ์แห่งความชอบธรรม’ (อีกครั้ง).” ศูนย์ทนายความสิทธิมนุษยชน. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2566. https://tlhr2014.com/archives/21226.

รุ้งนภา ยรรยงเกษมสุข. “ชนชั้นนำในการเมืองไทยปัจจุบัน: การศึกษากระบวนการผลิตซ้ำทุนวัฒนธรรมตามแนวปิแอร์ บูร์ดิเออ.” วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก, คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.

วัชรพล พุทธรักษา. อันโตนิโอ กรัมซี่ กับการจัดวางความคิดทางการเมือง. กรุงเทพฯ: สมมติ, 2561.

สมชาย ปรีชาศิลปกุล. นิติศาสตร์แหกคอก: Law in Postmodern View แนวความคิดว่าด้วยความไร้กฎเกณฑ์ ความไม่ต่อเนื่องและความอยุติธรรมของกฎหมาย. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2566, https://midnightuniv.tumrai.com.

สมยศ เชื้อไทย. นิติปรัชญา = Philosophy of Law. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2536.

สัพพัญญู วงศ์ชัย. “อิริค โอลิน ไรท์ และ อิริช ฟรอมม์ ว่าด้วยชนชั้นกลาง: ชนชั้นกลางไทยกับประชาธิปไตย.” ประชาไท. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2566. https://prachatai.com/journal/2018/06/77474.

สุภางค์ จันทวานิช. ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.

อรรถสิทธิ์ เมืองอินทร์. “เหตุใดรัฐจึงกลายเป็นฆาตกร.” ประชาไท. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2566. https://prachatai.com/journal/2013/01/44835.