สถาบันพระมหากษัตริย์กับกระบวนการสร้างรัฐธรรมนูญจารีตประเพณีว่าด้วยการรัฐประหาร
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
งานเขียนนี้ทำการศึกษาถึงการรัฐประหารที่เกิดขึ้นทั้ง 12 ครั้งโดยพิจารณาจากบทบาทความสัมพันธ์ของสถาบันพระมหากษัตริย์กับการรัฐประหารที่เกิดขึ้นและข้อถกเถียงทางกฎหมายที่เกิดขึ้นต่อการรัฐประหาร จากการศึกษาพบว่าสามารถแบ่งบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์กับการรัฐประหารได้ 3 ช่วงเวลา ดังนี้ คือ ช่วงที่ 1 พ.ศ.2475 – 2500 ซึ่งเป็นช่วงการรัฐประหารก่อนการก่อตัวเป็นรูปแบบจารีตประเพณี ช่วงที่ 2 พ.ศ.2501 – พ.ศ.2516 การรัฐประหารในช่วงที่ก่อตัวเป็นจารีตประเพณี ช่วงที่ 3 พ.ศ.2517 – พ.ศ.2549 การรัฐประหารตามจารีตประเพณี โดยจะแสดงให้เห็นว่าการรัฐประหารได้มีการพัฒนารูปแบบของการรัฐประหารมาอย่างช้าๆ จนในที่สุดก็ปรากฏรูปแบบของการรัฐประหารที่ชัดเจน โดยมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างการเป็นรัฐธรรมนูญจารีตประเพณีที่ได้รับการยอมรับจากประชาชน
ABSTRACT
This article is a study of the coup d’etat that have taken place in Thailand for all together twelve times by considering the role of the relationship of the monarch and the coup d’etat, as well as legal debates that have arisen related to coup d’etat. From the study, the student has found that the role of the monarch and the coup d’etat could be divided into three periods of time, which are the 1st period, between B.E. 2475-2500, which was the coup d’etat period before they were organized customary; the 2nd period, between B.E. 2501-2516, the coup d’etat during the custom organization; and the 3rd period, between 2517-2549, the custom coup d’etat. The summary will show how the pattern of coup d’etat has been gradually developed until it finally has its own clear pattern with the monarch playing a part in creating the constitutional customary that is deemed to be acceptable by the general public
DOI: http://dx.doi.org/10.14456/cmujlss.2012.3
Article Details
O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)
O กองบรรณาธิการ CMU Journal of Law and Social Sciences ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
หนังสือและวารสาร:
เกษียร เตชะพีระ. (2546). คำตาม. ฟ้าเดียวกัน. ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ . (2538). ประวัติการเมืองไทย. กรงุ เทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. (2548). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ.กรุงเทพฯ: มูลนิธิตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2520). พระมหากษัตริย์ไทยในระบอบประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ . (2550). “ข้ออ้าง”การปฏิวัติ-รัฐประหาร กบฏในการเมืองไทยปัจจุบัน: บทวิเคราะห์และเอกสาร. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2549). พระผู้ปกเกล้าประชาธิปไตย: 60 ปีสิริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2547). กฎหมายมหาชน เล่ม 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
บุญชนะ อัตถากร. (2526). บันทึก วิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีของไทย. มูลนิธิ ศ.บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัยจัดพิมพ์.
ปรีดี พนมยงค์. “จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม”. ในปรีดี พนมยงค์ กับสังคมไทย. กรงุ เทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2526.
ยศ สันตสมบัติ. (2533). อำนาจ บุคลิกภาพ และผู้นำการเมืองไทย. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ยาสุกิจิ ยาตาเบ. (2550). บันทึกของฑูตญี่ปุ่น ผู้เห็นเหตุการณ์ปฏิวัติ 2475 การปฏิวัติและการเปลี่ยนแปลงในประเทศสยาม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มติชนปากเกร็ด.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 74 ตอนที่ 76 วันที่ 16 กันยายน 2500.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 108 ตอนที่ 36 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2534.
ว.ช.ประสังสิต. (2492). ปฏิวัติรัฐประหาร และกบฏจลาจล ในสมัยประชาธิปไตยแห่งประเทศไทย. พระนคร: โรงพิมพ์ บริษัทรัฐภักดี จำกัด.
สมชาย ปรีชาศิลปกุล. (2550). สถาบันกษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย. วิภาษา. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ลำดับที่ 41 วันที่ 16 มีนาคม – 30 เมษายน.
สุพจน์ ด่านตระกูล.(2550). ประวัติรัฐธรรมนูญ. นนทบุรี: สถาบันวิทยาศาสตร์สังคม (ประเทศไทย).
สำนักงานพงษ์สุริยาทนายความ. (2519). คำสั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2519. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด อักษรบัณฑิต.
หยุด แสงอุทัย. (2513). คำบรรยายชั้นปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ หลักรัฐธรรมนูญ และกฎหมายเลือกตั้งทั่วไป. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์:
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “The King and I: รายงานการเข้าเฝ้าของทูตอังกฤษปี 2500 ในหลวงทรงมีพระราชดำรัสถึงการเมืองไทย” แหล่งที่มา http://somsakwork.blogspot.com/2006_07_01_archive.html (22 ธันวาคม 2551).
ปิยบุตร แสงกนกกุล. “รัฐประหารในระบบกฎหมายไทย” แหล่งที่มา http://www.onopen.com/wp-print.php?p=1036 (19 พฤศจิกายน 2550).