สภาพปัญหาความเสียเปรียบของคู่ความหลากหลายทางเพศอันเนื่องมาจากการไม่มีกฎหมายรับรองการสมรสในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
ในต่างประเทศมีการบัญญัติกฎหมายเพื่อรับรองการสมรสสำหรับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ แต่ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายรับรองการสมรสของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ผลของการสำรวจสภาพปัญหา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 คน พบว่าจำนวน 8 คนระบุว่าประสบปัญหาความเสียเปรียบ จำแนกได้เป็น 8 ลักษณะปัญหา ในขณะที่อีก 12 คนแม้จะไม่ประสบปัญหาแต่มีความเห็นว่าจะก่อให้เกิดปัญหาต่อการใช้ชีวิตคู่ร่วมกันในอนาคต และผลจากการวิจัยเอกสารพบปัญหาความเสียเปรียบทั้งในลักษณะอื่นๆ แสดงให้เห็นว่าบุคคลกลุ่มนี้ยังต้องเผชิญกับการปฏิบัติที่แตกต่างจากคนส่วนใหญ่ในสังคม อันเป็นผลมาจากข้อกฎหมายและระเบียบกฎเกณฑ์ของสถาบันต่าง ๆ
ABSTRACT
In foreign countries enacted laws recognizing marriage or civil partnership registration between sexual diversity people. But at present Thailand still does not have any legal recognition of marriages of sexual diversity people. The in-depth interview revealed that 8 of the 20 sexual diversity interviewees confronted about 8 disadvantages. And the documentary research found some other disadvantages. This study showed that they still encounter disparate treatment from the dominant group of people as resulted by law and regulations of various institutions.
DOI: http://dx.doi.org/10.14456/cmujlss.2013.11
Article Details
O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)
O กองบรรณาธิการ CMU Journal of Law and Social Sciences ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
กรมที่ดิน. หนังสือที่ มท 0515/ว39288 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2548 เรื่อง การขอได้มาซึ่งที่ดินของคนไทยที่มีคู่สมรสเป็นคนต่างด้าว. กองทุนสวัสดิการกรมบัญชีกลาง. 2551. คู่มือสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ เล่มที่ 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คณะรฐั มนตรีและราชกจิ จานุเบกษา.
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. 2550. สิทธิมนุษยชนของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ.กรุงเทพฯ : ศรีเมืองการพิมพ์.
คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชมุ สภาร่างรฐั ธรรมนญู . 2550. เจตนารมณ์รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.
ประสพสุข บุญเดช. 2541. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ว่าด้วยครอบครัว. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นิติบรรณการ.
_______________. 2553. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ว่าด้วยครอบครัว. พิมพ์ครั้งที่ 18. กรุงเทพฯ : สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา.
ไพศาล ลิขิตปรีชากุล. 2551. หลักการยอกยาการ์ตา ว่าด้วยการใช้สิทธิกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศในประเด็นวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ. กรุงเทพ : สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
ไพโรจน์ กัมพูสิริ. 2553. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ครอบครัว. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สิทธิศักดิ์ วนะชกิจ. ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์. “หลักการแนวปฏิบัติและปัญหาของกฎหมายความรุนแรงในครอบครัว.” ศาลยุติธรรมกับความเป็นธรรมทางเพศ.กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ สำนักงานศาลยุติธรรม.
สำนักมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. 2547. สิทธิประโยชน์ที่ประชาชนพึงได้รับจากกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์พิมพ์ครั้งที่ 2. กรงุ เทพฯ : เทพเพ็ญวานิสย์.
อนิรุต พิเสฎฐศลาศัย. 2548. “Civil Union ทางออกของ Same-sex Marriage ในนิวซีแลนด์.”, นิตยสารผู้จัดการ กันยายน (2548) [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มาhttp://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=38767 (11 เมษายน 2555).
Wikipedia The Free Encyclopedia. “Recognition of Same-sex Unions in Germany.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Recognition_of_samesex_unions_in_Germany (15 สิงหาคม 2555).