มาตรการในการรองรับสภาวะวิกฤตพลังงานไฟฟ้าของไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศไทยประสบปัญหาสภาวะวิกฤตพลังงานไฟฟ้าบ่อยครั้งและรุนแรงมากยิ่งขึ้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการบริหารจัดการสภาวะวิกฤตดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม โดยพบว่าควรมีการจัดระดับความรุนแรงเป็น 4 ระดับ โดยใช้ดัชนีร้อยละผู้ใช้ไฟฟ้าที่ได้รับผลกระทบ - ชั่วโมง และมีการบริหารจัดการแยกย่อยไปตามระดับของความรุนแรง
Abstract
During the last decade, Thailand has experienced the energy crisis more frequent and severe. Therefore, Thailand needs to initiate a tangible management to cope with energy crisis. This article classifies energy crisis into 4 phases according to an Index of Percentage of Affected Customer-Hours. The energy crisis management should have different operational systems depending on the severity of the energy crises.
DOI: http://dx.doi.org/10.14456/cmujlss.2013.1
Article Details
O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)
O กองบรรณาธิการ CMU Journal of Law and Social Sciences ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.(2557).
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาการจัดทำแผนการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารและจัดการใน สภาวะวิกฤติ (Emergency response arrangements)ด้านพลังงานไฟฟ้า เสนอสำนักงานนโยบายและแผนพลังงานกระทรวงพลังงาน.
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน. แผนแม่บทการแปรรูปรัฐวิสาหกิจสาขาพลังงาน. [ออนไลน์] http://www.eppo.go.th/doc/idp-05-priv-vrs.html (1 ก.พ. 2557)
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีหมายเลขดำที่ ฟ.14/2548 คดีหมายเลขแดงที่ ฟ. 5/2549