ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 กับการประกอบสร้างสถานะอัน “ล่วงละเมิดมิได้”

Main Article Content

นพพล อาชามาส

บทคัดย่อ

          บทความนี้พิจารณาการเปลี่ยนแปลงความหมายของข้อหา “หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ” หรือความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ในสังคมไทย โดยเสนอว่าการพิจารณาข้อหานี้มิสามารถกระทำได้เพียงการพิจารณาความเปลี่ยนแปลงในตัวบทกฎหมาย แต่ความหมายของการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพยังมีความแปรเปลี่ยนเรื่อยมาตามรูปแบบของรัฐ สถานะบทบาทของสถาบันกษัตริย์ และการประกอบสร้างอุดมการณ์ในช่วงต่างๆ อีกทั้งการตีความเชื่อมโยงข้อหานี้เข้ากับสถานะ “อันล่วงละเมิดมิได้” ของสถาบันกษัตริย์ก็เป็นสิ่งที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่ในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา โดยการเชื่อมโยงในลักษณะนี้ภายใต้อุดมการณ์กษัตริย์นิยมในบริบทความขัดแย้งทางการเมืองปัจจุบัน ทำให้ความผิดข้อหานี้ถูกตีความให้ความหมายขยายความอย่างกว้างขวาง และส่งผลถึงการจำกัดเสรีภาพการแสดงออกในสังคมไทย

 

หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ; ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112; อันล่วงละเมิดมิได้; สถาบันพระมหากษัตริย์

 

            This article considers the changing definition of lèse majesté law or Article 112 of the Criminal Code in Thailand. This article suggests meaning of this law cannot be considering only in the text but content of the law has also been subject to change depending on the format of the state, status and role of the monarchy and the construction of the ideology in different times. Moreover, the interpretation of this law linked with an “inviolable” of the monarchy just has been constructed in the few decades. That links under royalist ideology in the current political context, makes lèse majesté has been interpreted extended widely and has been affecting to freedom of expression in Thailand.

 

Lèse Majesté; Article 112 of the Thai Criminal Code; Inviolable; Monarchy

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ภาษาไทย

กองบรรณาธิการปาจารยสาร. (2530). "ความผิดฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข". ปาจารยสาร. 14 (6).

กองบรรณาธิการวารสารฟ้าเดียวกัน. (2553). "จากพฤษภาประชาธรรมถึงรัฐประหารเพื่อประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข: อ่านการต่อสู้ทางชนชั้นในพลวัตการเมืองไทย". วารสารฟ้าเดียวกัน. 8 (1): 178-210.

จรัล โฆษณานันท์. (2552). "ความรุนแรงแห่งโทษที่ไม่เป็นธรรม และการปิดกั้น 'ความจริง' ใน มาตรา 112 แห่งประมวลกฎหมายอาญา". วารสารฟ้าเดียวกัน. 7 (2). 80-109.

ชนิดา ชิดบัณฑิตย์. (2550). โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ: การสถาปนาพระราชอำนาจนำ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ณัฐพล ใจจริง. (2554). "พระบารมีปกเกล้าฯ ใต้เงาอินทรี: แผนสงครามจิตวิทยาอเมริกัน กับการสร้างสถาบันกษัตริย์ให้เป็น 'สัญลักษณ์' แห่งชาติ". วารสารฟ้าเดียวกัน. 9 (2). 95-130.

ทวน วิรยาภรณ์ (บก.). (2507). พระราชดำรัสและพระบรมราโชวาท. กรุงเทพฯ: พิศนาคะการพิมพ์.

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. (2552). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์.

ธงชัย วินิจจะกูล. (2548). ข้ามให้พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาคม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ 14 ตุลา.

นพพล อาชามาส. (2556). การประกอบสร้างความกลัวและการเมืองว่าด้วยการบังคับใช้ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาสังคม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2550). กฎหมายมหาชนเลม่ 2: การแบง่ แยกกฎหมายมหาชน-เอกชนและพัฒนาการกฎหมายมหาชนในประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2552). "ความผิดฐาน "หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ": เอกลักษณ์ประชาธิปไตยไทยในกระแสประชาธิปไตยโลก". หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน. 6 และ 7 เมษายน 2552.

บุญร่วม เทียมจันทร์. (2531). รวมสุดยอดคดีประวัติศาสตร์เมืองไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สเปเชียล โปรเจ็ค.

ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2548). และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ: การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและปัญญาชนก่อน 14 ตุลา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2555). 'องค์กษัตริย์ไม่สามารถถูกละเมิดได้' คืออะไร?". วารสารฟ้าเดียวกัน 10 (1). 44-57.

มานิตย์ จุมปา. (2541). รัฐธรรมนูญใหม่มีอะไร. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา.

มีชัย ฤชุพันธุ์. (2555). "ปัญหาการแก้ไขมาตรา 112 ของกฎหมายอาญา" แหล่งที่มา

http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9550000011291(25 มกราคม 2555).

รัตนา เมฆนันทไพสิฐ. (2532). การเมืองกับกฎหมายการพิมพ์ (พ.ศ.2453-2487). วิทยานิพนธ์ศิลป ศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2550). กฎหมายตราสามดวง ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (เล่ม1-2). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

สมชาย ปรีชาศิลปกุล. (2551). "หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ," วารสารฟ้าเดียวกัน. 6 (1). 148-157.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2549). "กรณี หยุด แสงอุทัย ถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ๒๔๙๙" แหล่งที่มา http://somsakwork.blogspot.com/2006/09/blog-post_1973.html.

สันติสุข โสภณศิริ. (2555). สถาบันพระมหากษัตริย์กับประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเด็ก.

สายชล สัตยานุรักษ์. (2548). "การสร้างความเป็นไทย'กระแสหลักและ 'ความจริง'ที่ 'ความเป็นไทยสร้าง," วารสารฟ้าเดียวกัน 3:4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2548): 40-67.

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. (2550). แผนชิงธงชาติ: ว่าด้วยรัฐและการต่อต้านรัฐสมัย

จอมพลป.พิบูล สงครามครั้งที่สอง (พ.ศ.2491-2500) (พิมพ์ครั้งที่สอง). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ 6 ตุลารำลึก.

หยุด แสงอุทัย. (2513). คำบรรยายชั้นปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ หลักรัฐธรรมนูญและกฎหมายเลือกตั้งทั่วไป (พิมพ์ครั้งที่ 7) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ภาษาอังกฤษ

Loos, Tamara. (2002). Subject Siam: Family, Law and Colonial Modernity in Thailand. Bangkok: Silkworm Books.

Streckfuss, David. (2011). Truth on Trial in Thailand: Defamation, Treason and lèse-majesté. London and New York: Routledge.