กฎหมายว่าด้วยเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะและการประท้วงในสาธารณรัฐฝรั่งเศส

Main Article Content

อุษณีย์ เอมศิรานันท์

บทคัดย่อ

            บทความชิ้นนี้มุ่งหมายที่จะอธิบายถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการชุมนุมสาธารณะและการประท้วงในสาธารณรัฐฝรั่งเศส ในภาพรวม ระบอบของเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะของฝรั่งเศสวิวัฒนาการไปในแนวทางที่เอื้อต่อเสรีภาพของประชาชนเป็นลำดับ ทั้งนี้ ภายใต้เงื่อนไขความจำเป็นในการหาสมดุลระหว่างการรับรองเสรีภาพขั้นพื้นฐานในการแสดงออกและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในระบอบเสรีประชาธิปไตยและการรักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยสาธารณะ ซึ่งศาลปกครองของฝรั่งเศสมีบทบาทสำคัญในการหาสมดุลเช่นว่านั้นผ่านการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการบังคับใช้หลักเกณฑ์เกี่ยวกับเสรีภาพของเจ้าหน้าที่ของรัฐ

ในบทความนี้จะศึกษาใน 3ประเด็นหลักดังนี้ (1) สถานะของเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะและการประท้วงตามกฎหมายฝรั่งเศส (2) หลักเกณฑ์ในการใช้เสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะและการประท้วง และ (3) การจำกัดการใช้เสรีภาพโดยรัฐและการควบคุมตรวจสอบโดยศาล

 

This article aims to describe the regime of freedom of assembly and demonstration in France. Overall, the regime has gradually evolved to be more protective of such freedom. The imperative is to find balance between protecting fundamental freedom of expression and public participation in decision-making, on one hand, and safeguarding public order and public safety, on the other. French administrative courts play an important role in finding such balance via legality control of application of provisions on freedom of assembly.

The article will describe (1) Legal status of freedom of assembly and demonstration in France (2) Legislations on freedom of assembly and demonstration and (3) Limitation of freedom of assembly and demonstration and judicial control.   


         

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Didier Perroudon, “Manifestations”, Répertoire Dalloz de droit pénal et de procédure pénal, 2011.

J. Montreuil, “Manifestations et réunions publiques”, JurisClasseur pénal, 1996.

Jacques Fialaire, “Fasc. 210 : Police des réunions et manifestations”, JurisClasseur Administratif, 2012.

Michel Pigenet and Danielle Tartakowsky, Histoire des mouvements sociaux en France : De 1814 à nos jours, Paris: La Découverte, 2012

Nonna Mayer, “Le temps des manifestations”, Revue européenne des sciences sociales, 2004, 219-224.

Olivier Fillieule and Danielle Tartakowsky, La manifestation, Paris: Presses de Sciences Po, 2013

Pierre Favre, La manifestation, Paris: Presses de la fondation nationale des sciences politiques, 1990

Roseline Letteron, “Fasc. 840 : Libertés de réunion et de manifesta¬tion”, JurisClasseur Libertés, 2007.

Taehyun Nam, “Rough days in democracies: Comparing protests in democracies”, European Journal of Political Research, 2007, 97-120.

วารุณี วั ฒนประดิษฐ์, เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ (นิติศาสตรมหาบั ณฑิต นิติศาสตร์, มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร์, 2551).

สั ญชั ยสุ วั งบุ ตร, ราชาธิ ปไตยใต้รัฐธรรมนูญสู่สาธารณรัฐ ฝรั่งเศส ค.ศ. 1815-1970, กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ์, 2552

ปกิตตา นิภาวรรณ, “กฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะของประเทศ ฝรั่งเศส”, วารสารกฎหมายปกครอง, 2553, เล่ ม27, ตอน 1, 98-105.

ข้อตกลงระหว่างประเทศ

อนุสั ญญายุโรปว่าด้วยการปกป้ องสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้ นพื้ นฐาน ค.ศ.1950 (TheConvention for the Protection of Human Rightsand Fundamental Freedoms

กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ.1966 (The International Covenant on Civil and Political Rights)

กฎหมายภายใน

Déclaration des droits de l’homme - 26 août 1789

Constitution de 1791 - 3 et 4 septembre 1791

Constitution de l’An I - Première République - 24 juin 1793

Constitution de 1848, IIe République - 4 novembre 1848

Constitution de 1852, Second Empire - 14 janvier 1852

Lois constitutionnelles de 1875, IIIe République - 24, 25 février et 16 juillet 1875

Constitution de 1946, IVe République - 27 octobre 1946

Constitution de 1958, Ve République - 4 octobre 1958

Code de la défense

Code de la sécurité intérieure

Code général des collectivités territoriales

Code pénal

Loi du 30 juin 1881 sur la liberté de réunion

Loi du 28 mars 1907 relative aux réunions publiques

Décret-loi du 23 octobre 1935 portant réglementation des mesures relatives au renforcement du maintien de l’ordre public

Loi du 3 avril 1955 relatif à l’état d’urgence

คำพิพากษาของสภาแห่งรัฐ (ศาลปกครองสูงสุด)

CE, 19/05/1933, Benjamin

CE, 5/03/1948, Jeunesseindépendantechrétienne

CE, 19/2/1954, Union Synd. ouvriers Région parisienne CGT

CE, 21/01/1966, Legastelois

CE, 12/11/1997, Ministre d’intérieur c/ assoc. Communauté tibétaine en France et ses amis

CE, 25/06/2003, Assoc. SOS Tout-petits et Letondot

CE, ord. Référé. 30/03/2007, ville de Lyon c/ Culte des Témoins de Jéhovah Lyon-Lafayette