เสรีภาพในการชุมนุมของสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)
Main Article Content
บทคัดย่อ
สาธารณรัฐเกาหลีเป็นประเทศที่มีการชุมนุม เดินขบวนประท้วงมากประเทศหนึ่ง ทั้งจากประเด็นทางการเมืองและประเด็นทางเศรษฐกิจ บทความนี้ทำการศึกษาพัฒนาการของการชุมนุม โดยจากการศึกษาจะพบว่ามีการชุมนุมเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยจากรัฐบาลเผด็จการ การเรียกร้องรัฐธรรมนูญ การเรียกร้องสวัสดิการแรงงาน โดยมีพัฒนาการการชุมนุมและเดินขบวนจากกลุ่มเดี่ยว เช่น นักศึกษา แรงงาน ศาสนา จนกระทั่งพัฒนามาเป็นการรวมกันระหว่างกลุ่มต่างๆ และมีรูปแบบการชุมนุมและเดินขบวนที่มีระเบียบแบบแผน ในด้านกลุ่มทางสังคมที่มีบทบาทสำคัญในการชุมนุมและเดินขบวน พบว่านักศึกษาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทมากที่สุด และขยายตัวไปยังกลุ่มอื่นๆ ในสังคม ในด้านบทบัญญัติทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการชุมนุมและการเดินขบวนนั้น แต่เดิมสาธารณรัฐเกาหลีใช้กฎอัยการศึก และการออกกฎหมายเฉพาะต่างๆ มาควบคุมการชุมนุมของประชาชน จนกระทั่งเกิดรัฐบัญญัติว่าด้วยการชุมนุมและการเดินขบวน ซึ่งบทบัญญัติดังกล่าวได้ให้ในการรับรองและควบคุมการใช้เสรีภาพในการชุมนุมและการเดินขบวนไปพร้อมกัน
South Korea is one of the countries which many assemblies and manifestations, both politic and economic, take place. This article studies the evolution of the forms of assembly. The main causes of assemblies and manifestations concern anti-dictatorship movement and demand for better social protection of labor. From isolated movements of students, labors or religious, assemblies and manifestation became more diverse and organized. Students used to be the most active group but later joined by other groups. As for the legislations, martial law and special law were used to regulated assembly and manifestation, until the promulgation of law on assembly and manifestation which guaruntees and limit exercice of such freedoms as the same time.
Article Details
O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)
O กองบรรณาธิการ CMU Journal of Law and Social Sciences ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
เอกสารภาษาต่างประเทศ
Gi-Wook Shin, Paul Y. Chang, Jung-eun Lee ,Sookyung Kim, South Korea’s Democracy Movement (1970-1993): Stanford Korea Democracy Project Report. California: Stanford University, 2007.
เอกสารภาษาไทย
ณัฐพงษ์ มหานันทโพธิ์. บทบาทของเจ้าหน้าที่รัฐตามกฎหมายที่เกี่ยว กับการชุมุนมสาธารณะ. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
ดอง โบ แฮ. ศึกษาเปรียบเที ยบโครงสร้างการบริหารองค์กรและการจัด สวัสดิการของตำรวจไทยกับประเทศสาธารณรัฐเกาหลี วิ ทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร์. 2548.
ดำรงค์ ฐานดี. สังคมและวัฒนธรรมเกาหลี. (แก้ไขปรับปรุงใหม่ทั้ งเล่ม). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2544.
ดำรงค์ ฐานดี. “พฤติ กรรมทางการเมือง : กรณีศึกษาของเกาหลีใต้”. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์, 2547: 99-168.
นำพงษ์ ไกยเดช. การกำหนดคุณสมบัติและกระบวนการสรรหากับความ เป็นอิสระของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ:ศึกษาเปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนูญของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนี สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐเกาหลี และญี่ปุ่น. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554.
พิเชษฐ เมาลานนท์และคณะ. สถาบันตุลาการกับขบวนการประชาธิปไตย ในเกาหลี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิประชาธิปไตยในเกาหลี, 2552.
ลีเมียงซิก. ประวัติขบวนการประชาธิปไตยเกาหลี แปลโดย กุลชีพ วรพงษ์. กรุงเทพฯ: สถาบันศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย, 2555.
วิเชียร อินทะสี. “สองทศวรรษการพัฒนาประชาธิปไตยในเกาหลีใต้: ปัจจัย สนับสนุนและปัจจัยที่เป็นอุปสรรค”,วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. 2555.
สติธร ธนานิธิโชติ. การสร้างความปรองดองแห่งชาติ: กรณีศึกษาเกาหลีใต้. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ฐานข้อมูลออนไลน์
จรรยา ยิ้มประเสริฐ. ไม้ขีดก้านเดียวที่เปลี่ยนสังคมเกาหลี: เกาหลีเปลี่ยนแล้ว เมืองไทยทราบแล้วเปลี่ยน?. [ระบบออนไลน์] ที่มา: http://prachatai.com/journal/2011/01/32602 (30 มกราคม 2557)
จั นทจิรา เอี่ยมยุ รา. กฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะและการเดิ นขบวนของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี. [ระบบออนไลน์] ที่มา: http://ppvoice.thainhf.org/document/article/article_857.pdf (25 ธันวาคม 2557)
ปกรณ์ นิลประพันธ์. กฎหมายว่าด้วยการชุมนุมในที่สาธารณะของต่างประเทศ. [ระบบออนไลน์] ที่มา: http://www.lawreform.go.th/ lawreform/index.php?option=com_content&task=view&id=48 &Itemid=12 ( 3 กุมภาพันธ์ 2557)