อดีต ปัจจุบัน อนาคต กฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะของไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
พัฒนาการของการใช้เสรีภาพในการชุมนุมของประชาชนชาวไทย พบว่าสามารถแบ่งได้ 3 ช่วงเวลา คือ ยุคเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตย ช่วง พ.ศ. 2475-2530 ยุคการเมืองภาคประชาชน ช่วง พ.ศ. 2531-2549 ยุคความขัดแย้งทางการเมือง ช่วง พ.ศ. 2550 –ปัจจุบัน โดยแต่ละยุคมีความแตกต่างไปตามบริบททางการเมือง เศรษฐกิจสังคม ในด้านระบบกฎหมายของไทย พบว่า มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องอยู่ 3 กลุ่ม คือ กฎหมายที่ส่งเสริมเสรีภาพในการชุมนุม กฎหมายที่เป็นการจำกัดเสรีภาพในการชุมนุม และกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ในด้านองค์กรศาล พบว่ามีคดีความที่เกี่ยวข้องกับการชุมนุมสาธารณะทั้งศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครองและศาลยุติธรรม โดยศาลยุติธรรมเป็นศาลที่รับคดีที่เกี่ยวกับการชุมนุมสาธารณะมากที่สุด สำหรับการร่างกฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะของไทย พบว่ามีพัฒนาการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2498 ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน และส่วนใหญ่มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการนิยามความหมาย กำหนดสถานที่ห้ามชุมนุม หลักเกณฑ์เงื่อนไขการชุมนุม หน่วยงานหรือองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่ควบคุมการชุมนุม และกำหนดบทลงโทษกรณีกระทำการฝ่าฝืน เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบว่าร่างกฎหมายต่างๆ ก็มีข้อถกเถียงในรายละเอียดหลายประการ
The development of usage of freedom of assembly in Thailand can be divided into 3 periods; period of transitional democracy (1932-1987), period of civil politic (1988-2006) and period of political conflict (2007-present), which differed in relation to political, economic and social contexts.
Concerning legal system, there are 3 groups of legislations which concern freedom of assembly; ones which promote, restrict and impede freedom of assembly.
As for the courts, Constitutional court, administrative court and Court of Justice all heard the cases related to freedom of assembly. Court of Justice however received the largest number of cases.
Drafts law on freedom of assembly have been under development since 1955. They concern mostly definition of freedom of assembly, restriction of place, rules related to assembly, authorities entitled to control assemblies and sanctions in case of violation. These drafts law still have many conflictual points
Article Details
O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)
O กองบรรณาธิการ CMU Journal of Law and Social Sciences ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
กนกศักดิ์ แก้วเทพ. “การต่อสู้ของชาวนาไทย ปี 2516-2519 สหพันธ์ชาวนา ชาวไร่แห่งประเทศไทย” ใน เส้นทางชาวนาไทย รำลึก 25 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย นฤมล ทับจุมพล, นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิเด็ก, 2542.
กนกศักดิ์ แก้วเทพ. “บทวิเคราะห์สหพั นธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย: การเคลื่อนไหวของชาวนาไทยยุคประชาธิปไตยเบิกบาน” วารสาร เศรษฐศาสตร์การเมือง 2, 4 (เม.ย.-มิ.ย. 2526).
กรรณชฎา พู นพนิช. “ประวั ติศาสตร์ขบวนการสหภาพแรงงานไทย ยุ คเริ่ม ต้นถึง พ.ศ. 2500” ในประวัติ ศาสตร์แรงงานไทย ฉบับกู้ศักดิ์ศรีกรรมกร. กรุงเทพฯ : พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย, 2541.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. รายงานการวิจัยเรื่อง สุนทรียศาสตร์กับ การเมืองภาคประชาชน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ราช วิทยาลัย, 2554.
บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ และกลุ่มมรสุมชายขอบ. เอกสารข้อเท็จจริงเบื้องต้น เกี่ยวกับเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ระหว่างวันที่ 13-20 พฤษภาคม พ.ศ. 2553, 2554.
ประภาส ปิ่นตบแต่ง. “การเมืองของขบวนการชาวบ้านด้านสิ่งแวดล้อม ในสังคมไทย”. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ดุ ษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.
ประภาส ปิ่นตบแต่ง. การเมืองบนท้องถนน 99 วันสมัชชาคนจน และ ประวัติศาสตร์ การเดินขบวนชุมนุมประท้วงในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยและผลิตตำรา มหาวิทยาลัยเกริก, 2541.
ประภาส ปิ่นตบแต่ง. “การต่อสู้ของชาวนาไทย ปี 2475-2516” ใน เส้นทาง ชาวนาไทย รำลึก 25 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย นฤมล ทั บจุ มพล, นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเด็ก, 2542.
ไพโรจน์ พลเพชร. รายงานวิจั ยฉบั บสมบู รณ์เรื่องสิทธิเสรีภาพและศั กดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ ชุดโครงการวิจัยการติดตามและประเมินผล บังคับใช้รัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2547.
วารุณี วัฒนประดิษฐ. “เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจาก อาวุธ”. วิทยานิพนธ์นิติ ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลั ยธรรมศาสตร์, 2551.
วิทยากร เชียงกูล. วิเคราะห์และสรุปบทเรียนจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำรา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ม.ป.ป.
ศูนย์ปฏิบั ติการสำนั กงานตำรวจแห่งชาติ. บทเรียนการปฏิบัติงานควบคุ มฝูงชนของตำรวจ ปี พ.ศ. 2553. กรุงเทพ: สำนั กงานตำรวจแห่งชาติ, ม.ป.ป.
สังศิต พิริยะรังสรรค์. “การฟื้นตัวของขบวนการสหภาพแรงงานไทย พ.ศ. 2501-2519” ในประวัติศาสตร์ แรงงานไทย ฉบับกู้ศักดิ์ศรีกรรมกร. กรุงเทพฯ: พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย, 2541.
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. รายงานการศึกษาเฉพาะกรณี การปฏิบัติ งาน ควบคุมฝูงชนของตำรวจ พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: สำนักงานตำรวจ แห่งชาติ, 2552.
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. คู่มือแนวทางปฏิบัติและบังคับใช้กฎหมายกับการชุมนุมโดยฝ่าฝื นกฎหมายสำหรับในการปฏิบัติหน้าที่ของ เจ้าหน้าที่ตำรวจ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตำรวจ, 2554.
กฎหมาย
ประมวลกฎหมายอาญา
พระราชกำหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548
พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ. 2457
พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติควบคุมการโฆษณาโดยใช้เครื่องขยายเสียง พ.ศ. 2493
พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522
พระราชบั ญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535
พระราชบั ญญั ติอาวุธปืนเครื่องกระสุนวัตถุระเบิดดอกไม้เพลิงและสิ่งเทียม พ.ศ. 2490
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับ.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 95 ก หน้า 9. 20 กันยายน 2549.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 126 ตอนพิเศษ 55 ง หน้า 6. 14 เมษายน 2552.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 88 ตอนที่ 124 ฉบับพิเศษ หน้า 11. 18 พฤศจิกายน 2514.