กฎหมายปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกับข้อท้าทายที่เปลี่ยนไป

Main Article Content

ดามร คำไตรย์

บทคัดย่อ

       พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ของไทยนั้นบัญญัติขึ้นมาเพื่อจัดที่ดินให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกิน อีกทั้งยังเป็นการสร้างความเป็นธรรมในการถือครองที่ดินให้แก่เกษตรกร แต่ปรากฏว่าหลังจากที่เกษตรกรที่ได้รับการจัดที่ดิน กลับเกิดปรากฏการณ์ "การสูญเสียที่ดิน" ของเกษตรกร ทั้งในรูปแบบการขายที่ดินให้กับเอกชนรายอื่น แม้ว่าการขายที่ดินดังกล่าวจะต้องห้ามตามมาตรา 39 ของพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมก็ตาม ทำให้เกษตรกรหลายรายกลับไปอยู่ในสถานะของการเป็นผู้ไร้ที่ดินทำกินอีกครั้ง ปัญหาในการกระจายการถือครองที่ดิน และปัญหาเรื่องการจัดที่ดินทำกินให้แก่เกษตรกรจึงกลายเป็นวัฒจักรที่ต้องแก้ไขต่อไป สิ่งหนึ่งที่เราไม่สามารถปฏิเสธได้คือ บริบททางเศรษฐกิจของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปมีผลอย่างมากต่อวิถีชีวิตดั้งเดิมของเกษตรกร จากการเกษตรเพื่อยังชีพไปสู่อุตสาหกรรมการเกษตร ทำให้การแข่งขันทางด้านการผลิตทางเกษตรกรรมมีความเข้มข้นขึ้น และเกษตรกรจึงต้องพึ่งพิงต่อกลไกการตลาดมากขึ้น แต่ปรากฏว่ากฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข้องต่างๆ ไม่เปลี่ยนแปลงตามบริบทของเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นการศึกษาแนวคิดการพัฒนาและการทำความเข้าใจเรื่องผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ จึงเป็นปัจจัยสำคัญในการทบทวนกฎหมายและมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความสอดคล้องระหว่างกฎหมายกับกลไกทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป

คำสำคัญ : การปฏิรูปที่ดิน; เกษตรกรรม; กฎหมาย; ข้อท้าทาย; ประเทศไทย

 

       The Agrarian Land Reform Law of Thailand has been enacted to allocate land for landless farmers and expect that farmer can possess and utilize such land for agricultural purpose as the concept to eradicate the unbalance of land possession. In fact, many of farmers lost their land after the period of such law has enforced. Some of them sell or transfer the land to another person such as private or even business sector even it is prohibited by law. The land losing farmers becomes the landless again. Even the attempting of Thai government to distribute the land possession was operate for long time but the land possession problem still unsolvable. Definitely, the changing of economic context turn the traditional farmer's life to the industrial drop farming. The higher cost of investment for the mass product is needed while the life of farmers have to rely on market mechanism. The prospect of distributing land in land reform and their related measures may not enough for the changing of social and economic context. The determining of development and the understanding of capitalism might be the key factor to revise the law in order to adjust the law and legal measure to harmonize with the changing social mechanism.

Key words: land reform; agrarian; law; challenges; Thailand

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Andriess, Edo. (2014). Regional Varieties of Capitalism in Southeast Asia. Working Paper No.175, Asia Research Center.

Bernstein, Henry. (2004). "Changing Before Our Very Eyes: Agrarian Questions and the Politics of Land in Capitalism Today." Journal of Agrarian Change, Volume 4, No.1-2, January and April, pp. 190-225.

Brass, Tom. (2014). "Modern Capitalism and Unfree Labor: The Unsaying of Marxism." Science &Society. Volume 78, No. 3, July. pp.288-311.

Bucur, Ion. (2012). "Diversity and the Capitalism Transitions". Economic Insights-Trends and Challenges. Volume 1 (LXIV), No.4, pp. 89-95.

de Soto, Hernando. (2000). The Mystery of Capital: Why Capitalism Triumphs in the West and Fails Every Where Else. New York: Basic Book.

Peluso, Nancy Lee and Vandergeest, Peter. (2001). "Genealogies of the Political Forest and Customary Rights in Indonesia, Malaysia, and Thailand". The Journal of Asian Studies, Vol. 60, No. 3. (August). pp. 761-812.

Ravallion, Martin and van de Walle, Dominique. "Land Reallocation in Agrarian Transition". The Economic Journal. 116, (October). pp. 924-942.

เชียงทอง, จามะรี. (2557). "การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิตทางการเกษตรกับความมั่นคงของเกษตรกรรายย่อย." ใน วสันต์ ปัญญาแก้ว บรรณาธิการ. สังคมเปลี่ยนผ่าน/เปลี่ยนผ่านสังคม. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 115-138.

เหลืองอร่ามศรี, ปิ่นแก้ว. (2557). "เศรษฐกิจเชิงแก่นสาร คาร์ล โพลานยี และวิถีการดำรงชีพ". ใน วสันต์ ปัญญาแก้ว บรรณาธิการ. สังคมเปลี่ยนผ่าน/เปลี่ยนผ่านสังคม. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 139-180.

เอียวศรีวงศ์, นิธิ. (2546). นอกรั้วโรงเรียน. กรุงเทพ: มูลนิธิเด็ก.

เอียวศรีวงศ์, นิธิ. (2547). (อ่าน) วัฒนธรรมการเมืองไทย. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มติชน.

เอียวศรีวงศ์, นิธิ. (2552). รากหญ้าสร้างบ้าน ชนชั้นกลางสร้างเมือง. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มติชน.

เอียวศรีวงศ์, นิธิ. (2555). ความไม่รู้เรื่องเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพ: Openbooks.

โยธาสมุทร, พิมพิดา. (2555). พื้นที่การเพาะปลูกกับความเป็นประเทศเกษตรกรรม. แผนงานความมั่นคงทางอาหาร. (http://www.food-resources.org/news/16/09/10/6743)

ไกรยูรวงศ์, ศยามล. (2549). ข้อพิพาทและความขัดแย้งปัยหาที่ดินในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ตันติเจริญ, ธนิสา. (2557). "วงถกแผนแม่บทป่าไม้ วิพากษ์รัฐกลัดกระดุมเม็ดแรกผิด" OK Nation Blog, 4 พฤศจิกายน. (http://www.oknation.net/blog/LittleLee/2014/11/04/ entry-1)

นรินทรางกูล ณ อยุธยา, ประเทือง. (2537). "การจัดการที่ดินภายใต้ระบบการเกษตรแบบมีพันธสัญญา: ศึกษากรณีเกษตรกรผู้ปลูกพืชพาณิชย์ ในเขตกิ่งอำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่," วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, คณะสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปรีชาศิลปกุล, สมชาย. (2557). "หลากหลายมุมมองต่อสถานการณ์คนจน," ประชาไทออนไลน์, 8 ธันวาคม. (http://www.prachatai.com /journal/2014/12/56870)

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2535). รายงานการศึกษาเรื่องนโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ฝ่ายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

สัตยานุรักษ์, อรรถจักร์. (2557a). "หากจะฝันถึงวันพรุ่งนี้," ประชาไทออนไลน์, 29 ธันวาคม. (http://www.prachatai. com/journal/2014/12/57176)

สัตยานุรักษ์, อรรถจักร์. (2557b). ประชาธิปไตย คนไทย ไม่เท่ากัน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.

สุกัณศีล, วัฒนา. (2557). "ชนบทภาคเหนือ: ชุมชนและการเปลี่ยนแปลง." ใน วสันต์ ปัญญาแก้ว บรรณาธิการ. สังคมเปลี่ยนผ่าน/เปลี่ยนผ่านสังคม. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 51-84.

อภิญญาวัชรกุล, ศิรินภา. (2554). นิติสำนึกของเกษตรกรผู้ซื้อและขายที่ดิน ส.ป.ก.4-01 ในตำบลบ้านช้าง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต, คณะนิติศาสตร์,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Online Information

"ส่องสินค้าเกษตรดาวรุ่ง ปี 57", ฐานเศรษฐกิจออนไลน์, 31 ธันวาคม 2556 (http://www.thannews.th. com/index.php?option=com_content&view=article&id=212693:-57&catid=87:2009-02-08 -11-23-26 &Itemid=423#.VIbo8jGsWSo)

"เสนอ คสช. ยึดที่ดิน สปก. ทำผิดกฎระเบียบคืนรัฐ", Dailynews on line, 20 June 2014 (http://www. dailynews.co.th/Content /regional/246549/เสนอคสช.ยึดที่ดินสปก.ทำผิดกฏระเบียบคืนรัฐ)

"คสช. อนุมัติแผนแม่บททวงคืนผืนป่า", Dailynews on line, 6 August 2014 (http://www.dailynews .co.th/Content/ politics/257531/คสช.อนุมัติแผนแม่บททวงคืนผืนป่า)

"จับนายทุนใหญ่รุกป่าดงแม่เผดปลูกยูคาลิปตัสกว่า 1,800 ไร่", Manager online, 3 October 2014 (http:// www.manager.co.th/ Local/ViewNews.aspx?NewsID=9570000113796)

"ชาวบ้านจี้ทหารตรวจสอบ ทวงคืนผืนป่า อ.แม่แตง พบปัญหาหนัก ส่วนแม่เหียะ ดีเดย์ 8 ต.ค." Thainews online, 5 October 2014 (http://www.thainews70.com/ข่าวพาดหัว-หน้าหนึ่ง/ชาวบ้านจี้ทหารตรวจสอบ-ท)

"บุกจับนายทุนกาฬสินธุ์ ฮุบที่ สปก. กว่า1.8 พันไร่ เด้งชัยวัฒน์พ้นแก่งกระจาน" Naewna online, 4 October 2014 (http://www.nae wna .com/local/124465) and Bangkokbiznews online, 3 October 2014(http://www.bangkokbiznews.com/home /detail /politics/ local/20141003/608921 / จับนายทุนใหญ่-เปิดยุทธการทวงคืนพื้นที่ส.ป.ก..html)

"ปิติพงศ์ สั่ง ส.ป.ก. สำรวจการบุกรุกที่ดินรัฐทั่วประเทศ" Chaoprayanews online, 16 September 2014 (http://www.chaopraya news.com/2014/09/16/ปิติพงศ์-สั่งสปก-ตรวจสอบ)

"พะเยาโมเดล คืนที่ ส.ป.ก. หน้ามหาวิทยาลัย ส่อเอาใจนายทุน", Thairath online, 22 October 2014 (http://www.thairath.co.th /content/458387)

"ยึดคืนที่ดิน ส.ป.ก. 5 พันไร่ "กระบี่" โมเดล แก้ปมรุกป่า", Prachachart online, 14 October 2014 (http:// www.prachachat.net /news_detail.php?newsid=1413206991)

"ส.ป.ก. เรืองอำนาจ ใช่เพื่อพ่อค้านายทุน", Thairath online, 5 September 2014 (http://www. thairath.co .th/content/447867)

"ส.ป.ก. ตามยึดที่ดิน เร่งจัดสรรแจกเกษตรกร", Dailynews online, 16 September 2014 (http:// www. dailynews.co.th/ Content /agriculture/266806/ส.ป.ก.ตามยึดที่ดิน+เร่งจัดสรรแจกเกษตรกร)

"สปก. สั่งระดมตรวจการถือครองที่ดินทั่วประเทศ" Posttoday online, 29 September 2014 (http://www .posttoday.com/ธุรกิจ-ตลาด/ข่าวธุรกิจ-ตลาด/321154/สปก-สั่งระดมตรวจการถือครองที่ดินทั่วประเทศ)

http://www.moac.go.th/ewt_news.php?nid=7898&filename=NFC

The National Economic and Social Development Board, Thailand's GDP 2013. (http://www. nesdb.go.th/Portals/0/eco_datas/account/ni/cvm/2012/BOOK_NICVM2012.pdf)

www.alro.go.th

www.theodora.com