การค้ามนุษย์ข้ามชาติในประเทศไทย: สถานการณ์ การคุ้มครองเหยื่อและการปราบปราม
คำสำคัญ:
การค้ามนุษย์ข้ามชาติ , การคุ้มครองเหยื่อ , การป้องกันและปราบปราม , การย้ายถิ่นบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายลักษณะของการค้ามนุษย์ข้ามชาติ และนำเสนอสถานการณ์ มาตรการคุ้มครองเหยื่อ รวมถึงการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ข้ามชาติซึ่งผู้เขียนได้รับจากการศึกษารวบรวมหนังสือ ตำรา และเอกสารทางวิชาการ สำหรับการรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ข้ามชาติในประเทศไทยจะทำให้ผู้อ่านได้มองเห็นภาพความรุนแรงของสถานการณ์ปัจจุบัน รวมถึงลักษณะของการค้ามนุษย์ข้ามชาตินับตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึงการส่งมอบผู้อพยพย้ายถิ่นข้ามชาติ รูปแบบการค้ามนุษย์ข้ามชาติและลักษณะของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย นอกจากนั้นยังมีการนำเสนอถึงมาตราการที่รัฐบาลไทยพยายามที่จะปฏิบัติตามกฎหมายสากลเพื่อให้ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ
References
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2560). นโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560–2564. กระทรวง.
กองต่อต้านการค้ามนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2562). สถิติการค้ามนุษย์ ประจำปี 2562. กอง.
กองต่อต้านการค้ามนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2563). สถิติการค้ามนุษย์ ประจำปี 2563. กอง.
กองต่อต้านการค้ามนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2564). สถิติการค้ามนุษย์ ประจำปี 2564. กอง.
กองต่อต้านการค้ามนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2565). สถิติการค้ามนุษย์ ประจำปี 2565. กอง.
จตุพร วงศ์ทองสรรค์ และ พันธ์เทพ วิทิตอนันต์. (2564). มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ตามมาตรฐานสากล. วารสารรามคำแหง ฉบับบัณฑิตวิทยาลัย, 4(3), 1-12.
ณัชชาภัทร อมรกุล และ ปรีชญาณ์ นักฟ้อน. (2563). การประเมินการดําเนินงานปราบปรามปัญหาการค้ามนุษย์ ตามยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง กรณีศึกษา กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ (ปคม). สถาบันพระปกเกล้า, 19(2), 5-22.
เบญญา บุญส่ง. (2560). การดำเนินการของประเทศไทยต่อกรณีการโยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติในมหาสมุทรอินเดียของชาวโรฮินจา. วารสารรัฏฐาภิรักษ์, 59(2), 23-34.
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551. (2551, 6 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 ตอนที่ 29ก. หน้า 1-24.
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการมีส่วนร่วมในองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ พ.ศ. 2556. (2556, 26 มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 130 ตอนที่ 55ก. หน้า 1-11.
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีค้ามนุษย์ พ.ศ. 2559. (2559, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 133 ตอนที่ 46ก. หน้า 1-11.
ยศพล จิระวุฒิ. (2560). ต่อต้านการค้ามนุษย์โดยการรายงาน กรณีศึกษา รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ (TIP Report) กับประเทศไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 5(1), 90-125.
สมชาย ว่องไวเมธี. (2555). สถานการณ์การค้ามนุษย์ในไทยและแนวทางการสืบสวนคดีความผิดตาม พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์. สูตรไพศาล.
สาลิณี สิงห์ศร และ อลงกรณ์ อรรคแสง. (2564). การค้าประเวณีหญิงข้ามชาติกรณีศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สทมส.), 27(4), 146-154.
สำนักงานคดีค้ามนุษย์. (2566, ตุลาคม 15). สถิติคดีการค้ามนุษย์ทุกคดี (แยกประเภทความผิด). https://caht.ago.go.th/statistics/
สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). ยุทธศาสตร์ชาติกับ SDGs. https://shorturl.asia/xp2aH/
อัจฉรา ชลายนนาวิน. (2562). เส้นทางการค้ามนุษย์ข้ามชาติ: กลไกการขับเคลื่อนกระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ในพื้นที่เสี่ยงระหว่างประเทศ. วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ, 5(2), 135-149.
Buckley, P., Pietropaoli, L., Rosada, A., Harguth, B., & Broom, J. (2022). How Has COVID-19 Affected Migrant Workers Vulnerability to Human Trafficking for Forced Labour in Southeast Asia?-a Narrative Review. Journal of Public Health and Emergency, 6, 1-12.
Buranadechachai, S., & Siriattakul, P. (2020). Guidelines for Preventing Boys from Entering into Prostitution in Thailand. PalArch’s Journal of Archaeology of Egypt/Egyptology, 17(3), 1020-1029.
Chantavanich, S. (2020). Thailand’s Challenges in Implementing Anti-Trafficking Legislation: The Case of the Rohingya. Journal of Human Trafficking, 6(2), 234-243.
Chowdhury, A. R., & Abid, A. (2022). Treading the border of (il)legality: statelessness, “amphibian life,” and the Rohingya “boat people” of Asia. INTER-ASIA CULTURAL STUDIES, 23(1), 68-85.
Pathmanathan, R. (2020). The Evolution of the Solution of the Slave Trade in South-East Asia. Western Michigan University.
Sihotang, N., & Wiriya, C. (2021). Human trafficking in Thailand in perspective of human rights law. Journal of Law and Legal Reform, 2(4), 505-514.
United Nations Office on Drugs and Crime. (2020). Global report on trafficking in persons 2020. United Nations Office on Drugs and Crime.
Vandergeest, P., & Marschke, M. (2020). Modern Slavery and Freedom: Exploring Contradictions Through Labour Scandals in the Thai Fisheries. Antipode, 52(1), 291-215.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลที่ตีพิมพ์ในวารสารนี้ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบในทุกกรณี
บทความและข้อมูลที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนี้ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารผู้ใดต้องการตีพิมพ์ซ้ำต้องได้รับอนุญาตจากบรรณาธิการวารสารก่อนเท่านั้น และบทความที่ได้รับการตอบรับเพื่อตีพิมพ์ในวารสารนี้จะต้องไม่ปรากฎในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อนที่จะปรากฎในวารสารนี้ กองบรรณาธิการจะส่งวารสารที่มีบทความของผู้เขียนตีพิมพ์ให้แก่ผู้เขียนจำนวน 1 ฉบับ