“MON IN SIAM” BOONYONG KETTHET’S NON-FICTION LITERATURE: BOOKS REVIEW STUDY

Main Article Content

Warawat Sriyabhaya

Abstract

ในช่วงต้นปี 2562 มีการตีพิมพ์วรรณกรรมสารคดีเกี่ยวกับชนชาติมอญออกเผยแพร่ จำนวน 3 เล่มในคราวเดียวกัน โดยให้ชื่อชุดวรรณกรรมว่า “มอญซ่อนสยาม” และใช้คำว่า “มอญซ่อนสยาม” เป็นคำหลักของชื่อเรื่อง ในแต่ละเล่มจะตั้งชื่อรองแตกต่างกันออกไปตามเนื้อหาสาระ หนังสือเล่มแรก คือ “มอญซ่อนสยาม: จากสาละวินถึงถิ่นแม่กลอง” ต่อด้วย “มอญซ่อนสยาม: ความผูกพันกับสยามในลุ่มนํ้าเจ้าพระยาและท่าจีน” เป็นเล่มที่สอง ส่วนเล่มที่สามคือ “มอญซ่อนสยาม: ลุ่มนํ้าจากเหนือจรดใต้” สารคดีทั้ง 3 เล่มนี้เป็นภาคต่อเนื่องของหนังสือเกี่ยวกับชนชาติมอญเรื่อง “มอญสยาม” ซึ่งตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อพ.ศ.2556ผู้แต่งใช้เวลาศึกษาเก็บข้อมูลภาคสนามเกี่ยวกับชนชาติมอญไม่นอยกว่า10 ปี ในระหว่าง พ.ศ. 2551-2561 โดยเดินทางไปทั่วทุกภูมิภาคของไทยที่มีชาวรามัญอาศัยอยู่ได้พบปะพูดคุยและสอบถามเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และชีวิตความเป็นอยู่ทุกแง่ทุกมุม

Article Details

How to Cite
Warawat Sriyabhaya. (2023). “MON IN SIAM” BOONYONG KETTHET’S NON-FICTION LITERATURE: BOOKS REVIEW STUDY. Fa Nuea Journal, 10(1), 126–143. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/FaNJ/article/view/265437
Section
Research Article

References

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. (2560). ปูชนียบุคคลด้านภาษาไทยผู้ใช้ภาษาไทยดีเดนผู้ใช้ภาษาไทยถิ่นดีเด่นและผู้มีคุณูปการณ์ต่อการใช้ภาษาไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรมกระทรวงวัฒนธรรม.

บุญยงค์ เกศเทศ. (2562ก.). มอญซ่อนสยาม: จากสาละวินถึงถิ่นแม่กลอง.มหาสารคาม: กากะเยีย.

บุญยงค์ เกศเทศ. (2562ข.). มอญซ่อนสยาม: ความผูกพันกับสยามในลุ่มนํ้าเจ้าพระยาและท่าจีน. มหาสารคาม: กากะเยีย.

บุญยงค์ เกศเทศ. (2562ค.). มอญซอ่ นสยาม: ลุม่ น้ำจากเหนือจรดใต้. มหาสารคาม:กากะเยีย.