การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

Authors

  • สิริรัตน์ นาคิน, 6852279 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • พิสมัย ศรีอำไพ, 6852279 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
  • จิระพร ชะโน, 6852279 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Keywords:

รูปแบบการจัดการเรียนรู้, การให้เหตุผลเชิงจริยธรรม, แนวคิดจิตตปัญญาศึกษา, ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม

Abstract

This article is a phase 1 and 2 of the research title the development of learning management model to enhance ethics for pre-service teachers: case study of Nakhonratchasima Rajabhat University. Objectives were as: 1) to develop the model of learning management  to promote the ethics for teaching professional students, and  2) to affirm for the developing model. The study found that:       

          1.The learning management model to promote an ethics for pre-service teachers  consist of 6 syntax 1) principles and theories background were contemplative approach and Kohlberg's Moral Development 2) objectives were for change the mind ,mindfulness, learning for understanding and thinking monitoring ownself, self-awareness 3) learning management consist of 4 syntax as step1 modify of change your brain and mind, step 2 share and learn, step 3 practice ,and step 4 application  4) social system were teachers as facilitators 5) principle reaction were social reinforcement and modify suitable behaviors and 6) support system were learning environmental management , learning resources and participation of university activities. All stages based on contemplative education were comprised of three principles as 1) consideration critically, 2) deep listening, and 3) drill practice

  1. The assessment of model by experts found that all of components of model had appropriateness mean (= 4.22, S.D. = 0.58), which indicated that this learning management model had appropriate components at a high level.

References

กีรติ บุญเจือ. 2551. คู่มือจริยศาสตร์ตามหลักวิชาการสากล. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม.

คณะอนุกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษานอกชั้นเรียน. บทความงานวิจัย. รูปแบบการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมนิสิตนักศึกษาด้วยกิจกรรมเสริมหลักสูตร. เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาคกลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย, ออนไลน์.

จุมพล พูลภัทรชีวิน. ได้จาก http://jitwiwat.blogspot.com/2012/05/blog-post-22ht., 30 ตุลาคม 2557.

ธนา นิลชัยโกวิทย์ และอดิศร จันทรสุข. 2552. ศิลปะการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง: คู่มือกระบวนการจิตตปัญญา. พิมพ์ครั้งที่ 1.นครปฐม: ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. 2554. กลยุทธ์การสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระไพศาล วิสาโล. 2552. โครงการวิจัยและจัดการความรู้จิตตปัญญาศึกษา. (โครงการเอกสารวิชาการการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง) กรุงเทพฯ: ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ,

วิจักขณ์ พานิช. 2550. เรียนรู้ด้วยใจอย่างใคร่ครวญ: การศึกษาดั่งเส้นทางแสวงหาจิตวิญญาณ. พิมพ์ครั้งที่ 2. ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา: สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา.

สุมน อมรวิวัฒน์. 25489.บทบาทของสถาบันการศึกษาต่อการพัฒนาจิตใจ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. พ.ศ. ๒๕๕๒ และแนวทางการปฏิบัติ. 2552. ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒: เอกสารแนบท้าย

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา. 2550. คุณธรรมนำความรู้: รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณการคุณค่าความเป็นมนุษย์. คู่มือประกอบการอบรมโครงการคุณธรรมนำความรู้ : แนวทางเสริมสร้างคุณธรรมในระบบการศึกษา. กรุงเทพฯ : วิทีซี คอมมิวนิเคชั่น

Huffman, K..2002. Psychology in action. 6th ed. New York : John Wiley & Sons. Inc, 2002.
Linda Darling, Hammond, John Bransford. 2005. Preparing Teacher for a Changing World What Teacher Should Learn and Be Able to Do. Published by Jossey -Bass A Wiley Imprint United states of America. (P.346-347)

Joyce, B. Weil M. and Calhoun E. 2011. Models of Teaching. 8th ed. Pearson Education, Inc. Boston America,

Kohlberg, L. 2000. Development of Moral Character and Moral Ideology Review of Child Development Research. New York: Russell Sage Foundation

Downloads

Published

2018-02-22

How to Cite

นาคิน ส., ศรีอำไพ พ., & ชะโน จ. (2018). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. Al-HIKMAH Journal, 7(13), 25–35. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HIKMAH/article/view/112343