การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ สำหรับครูพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจังหวัดสตูล

Main Article Content

วรรณี ปาทาน, 6852279
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม, 6852279
กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์

Abstract

This Thesis aimed to 1) Learn the basic information and documents related to the development of training courses. The prevention and control of communicable diseases 2) Create and monitor the effectiveness of the training course. 3) Determine the effectiveness of the training course. 4) Assess the quality of training courses.The sample is the babysitters in Child Development Center of Satun. They were divided to 2 groups. The first group was 15 people for the experimental group to achieve efficiency in the curriculum.  The second was 48 people for the treatment group that were 24 people for experimental group and 24 people for control group. They were from random selection. Research instruments were the test about prevention and control infection and satisfaction questionnaires. The statistics used to analyze data were mean, standard deviation and Factorial Repeated Measure ANOVA.


The results showed that 1) disease incidence has increased and it has spread rapidly. The people who play an important role in the prevention and control of infection are babysitters in Child Development Center. They have to be healthy and knowledgeable about the prevention and control of infection very well. The effectiveness of the training program is 81.33 / 82.22 3) Knowledge of babysitters in child development center who join in a training course about the prevention and control of infection after training is significantly higher than the babysitter in a normal class at 0.05. Babysitters were satisfied with the high level 4) The training course meet quality evaluation criteria based on the research.


 

Article Details

How to Cite
ปาทาน ว., สร้อยเพชรเกษม ช., & โตพิทักษ์ ก. (2018). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ สำหรับครูพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจังหวัดสตูล. Al-HIKMAH Journal, 6(12), 93–106. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HIKMAH/article/view/116349
Section
Research Article

References

เครือวัลย์ ลิ่มอภิชาต. 2531. หลักการและเทคนิคการจัดฝึกอบรมและการพัฒนาแนวทางการวางแผนการเขียนโครงการและการบริหารโครงการ. กรุงเทพฯ: สยามศิลป์การพิมพ์.

ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. 2554. การประยุกต์ใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 4. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ทัศนีย์ นาคุณทรง. 2552. การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมวิทยากรเพื่อพัฒนาบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบล. ดุษฏีนิพนธ์ การศึกษาดุษฏีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ทัศนียา กองภา. 2550. การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Cooperative Learning) กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษาเรื่องโรคติดต่อและโรคไม่ติด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รัตนะ บัวสนธ์. 2552. การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพฯ : คำสมัย.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. 2545. การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

สมพร สมพงษ์. 2553. ผลการจัดการเรียนรู้ รูปแบบ CIPPA กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษาเรื่องโรคติดต่อในท้องถิ่นชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล. 2555. เอกสารอัดสำเนา สรุปผลการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคจังหวัดสตูล. (1-12). สตูล: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.

สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. 2553. แนวทางการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล. กรุงเทพฯ: ศรีอนันต์การพิมพ์.

อำไพ ปรุงหอม. 2554. การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป เรื่องโรคติดต่อ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โรคติดต่อในท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านกลาง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์เขต 3. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

Tyler, Ralph W. 1949. Basic Principle of Curriculum and Instruction. Chicago: The University of Chocago.