The Implementation of Self Quality Assurance in Islamic Private Schools in Satun Province

Main Article Content

มุสลาม เละสัน
อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต

Abstract

This research aims 1) to examine the operation of internal quality assurance in Islamic private schools as perceived by school administrators and teachers 2) to compare opinions of school administrators and teachers of Islamic private school in Satun on the level of internal quality assurance operation based on their gender, position, age, working experience, school size and educational qualification and 3) to compile suggestions and solutions to the problems related to internal quality assurance operation in Islamic private schools in Satun. The samples used in this study were 202 teachers,16 administrators of Islamic private schools in Satun and 10 expert panels from Satun.


            Results of the study are as follows;


            1) Regarding to internal quality assurance operation in Islamic private schools in Satun, the results showed that the overall level of all dimensions, namely, preparation, planning, taking action according to the plan, examining evaluation results, taking evaluation results for work improvement and making an annual report was high. 2) Regarding to the comparison of opinions of school administrators and teachers on the level of internal quality assurance operation based on their demographic variables (gender, position, age, educational qualification, working experience and school size), the results showed that there were no significant different for overall and each dimension of internal quality assurance operation based on gender and position. A statistically significant difference at .05 was found for overall dimensions of internal quality assurance operation based on age difference.  There were no significant different for overall internal quality assurance operation based on educational qualification difference. A statistically significant difference at .01 was found for overall dimensions of internal quality assurance operation based on working experience difference. On the dimension of taking evaluation results for work improvement, it was found a statistically significant difference at .01. On making an annual report, the overall result showed that no statistically significant difference based on school size difference. 3) The suggestions and solutions to the problems related to internal quality assurance operation in Islamic private schools in Satun were as follows; schools and their top affiliated units should have work plans or projects that help promoting teachers to develop awareness and to perceive the importance of internal quality assurance operation in schools, a continued and sufficient budget should be provided, library with books, sample of researches or documents should be available so that teachers can search and seek more knowledge, showing concern on teachers should be adopted by taking care, giving attention, providing supervision and consultation and following up with respect to internal quality assurance operation in school on a regular and continuing basis, especially for those teachers who have more than 5 years of teaching experience, seminar on internal quality assurance operation in school for exchanging problems and solutions should also be conducted.

Article Details

How to Cite
เละสัน ม., & ณรงค์รักษาเขต อ. (2018). The Implementation of Self Quality Assurance in Islamic Private Schools in Satun Province. Al-HIKMAH Journal, 6(11), 47–66. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HIKMAH/article/view/116983
Section
Research Article

References

บุญชม ศรีสะอาด.2545. การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร.สุรีย์วิริสาส์น.สมาคมนักเรียนเก่าอาหรับประเทศไทย. มปป. พระมหาคัมภีร์อัลกุรอานพร้อมความหมาย. ศูนย์ กษัตริย์ฟะฮัด เพื่อการพิมพ์อัลกุรอานแห่งนครมาดีนะฮ์.

สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. 2554. แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2553. แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2553-2559). กรุงเทพฯ:พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

วิทยานิพนธ์และงานวิจัย

จารุวัจน์ สองเมืองและคณะ. 2552. โครงการวิจัยระบบและกลไกประกันคุณภาพภายในโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลาม. สนับสนุนโดยโครงการความร่วมมือทางวิชาการเพื่อการพัฒนาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้(สคศต.). และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ชัดทวัน ชนะชัย. 2546. สภาพปัญหาการบริหารการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดชัยภูมิ, วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

ชนันธิดา รัตนปราณี. 2553. การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาใน สถานศึกษาโรงเรียนบ้านหนองจาน อำเภอขามสะแกแสง จังกวัดนครราชสีมาวิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ซูวัยบ๊ะ ยานยา.2552. ความสัมพันธ์ระหว่างความตระหนักในการประกันคุณภาพการศึกษากับ สภาพดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในของครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ดอเลาะ การี. 2556. การดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลามมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ธงชัย ปิ่นทอง. 2548. การศึกษาสภาพและปัญหาการประเมินภายในเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

นูรุดีน อาดำ. 2556. การมีส่วนร่วมในกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาแบบอิสลามในโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลามมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

มูฮัมมัดฮิลมี อูซิน. 2549. ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารงานกับการปฏิบัติงานตามกระบวนการการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

รัตนา มณฑลเพชร.2550. การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่เอื้อต่อกระบวนการพัฒนาการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนที่ได้รับการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 1 และเขต 2.วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี.

เรืองเดช เพ็งจันทร์. 2546. การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาขั้น พื้นฐานจังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

รอบีหย๊ะ หมะขะเหร็ม. 2552. การดำเนินประกันกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

วิเชียร จันทวิเศษ. 2549. สภาพและปัญหาการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสระแก้ว. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

สกุน พงษ์เตชภณ. 2552. ความพร้อมในการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากรในโรงเรียน สังกัดเทศบาลตำบลเนินสูง จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

สมชาย พึ่งอิ่ม. 2551. การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นทีการศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.