การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การอ่านคุฏบะฮฺ สำหรับนักเรียน ชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปีที่ 2

ผู้แต่ง

  • มาหมัดรูสลัน สลิมิง
  • อับดุลรอแม สุหลง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
  • มูหำมัดสูใหมี เฮงยามา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอ่านคุฎบะฮฺสำหรับนักเรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปีที่ 2 มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอ่านคุฎบะฮฺ 2)เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนที่เรียนหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอ่านคุฎบะฮฺสำหรับนักเรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปีที่ 2 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน 3)เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคุฏบะฮฺ 4)เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การอ่านคุฎบะฮฺสำหรับนักเรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปีที่ 2 การดำเนินการวิจัยมี 2 ขั้นตอนคือ 1)ขั้นการพัฒนาหลักสูตรซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรจำนวน 3คน 2)ขั้นศึกษาผลการใช้หลักสูตรหลักสูตรซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยจำนวน 3 คนโดยนำหลักสูตรไปใช้กับนักเรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปีที่ 2/2 โรงเรียน       มูฮัมมาดียะห์จำนวน 25 คน ซึ่งได้จากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย            1)หลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอ่านคุฎบะฮฺสำหรับนักเรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปีที่ 2 2)แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 3)แบบประเมินทักษะการอ่านคุฏบะฮฺ4)แบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และสถิติทดสอบค่า t-test

ผลการวิจัยพบว่า

  1. หลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอ่านคุฎบะฮฺสำหรับนักเรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 80.37/89.73 ซึ่งแปลได้ว่าค่าประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือ 80/80

2.ความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนที่เรียนหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอ่านคุฎบะฮฺสำหรับนักเรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปีที่ 2 หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

3.ผู้เรียนที่เรียนหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอ่านคุฎบะฮฺสำหรับนักเรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปีที่ 2 เกิดทักษะในการอ่านคุฏบะฮฺมีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับร้อยละ86.96 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือ ร้อยละ 80

4.ความพึงพอใจของผู้เรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปีที่ 2 ที่มีต่อหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องการอ่านคุฎบะฮฺอยู่ในระดับมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับร้อยละ4.53 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 0.56

References

กังวล เทียนกัณฑ์เทศน์. (2540). การวัด การวิเคราะห์ การประเมินทางการศึกษาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือเสริมกรุงเทพ.
เกียรติภูมิมะแสงสม,วัลนิกาฉลากบางและทิวาแจ้งสุข (สิงหาคม 2562). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นในโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนครเขต 1. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. 9 (2) : 94-101.
เกริก ท่วมกลางและจินตนา ท่วมกลาง. (2555). การพัฒนาสื่อ/นวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ. บริษัทเยลโล่การพิมพ์ (1988) จำกัด.
เกรียงศักดิ์ พลอยแสง. (2553). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษากับการสื่อสารที่จัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เจะนูยี มะ. (4 กุมภาพันธ์ 2563). กรรมการอิสลามประจำจังหวัดปัตตานี.สัมภาษณ์.
ชนาธิปพรกุล. (2557). การสอนกระบวนการคิดทฤษฎีและการนำไปใช้. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษัทวี.พริ้นท์ (1991) จำกัด.
________. (2551). การออกแบบการสอนการบูรณาการการอ่านคิดวิเคราะห์และการเขียน. กรุงเทพฯ : บริษัทวี.พริ้นท์ (1991) จำกัด.
ชวาล แพรัตกุล. (2552). เทคนิคการวัดผล.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิฑูรย์การปก.
ชัวลิต ชูกำแพง. (2553). การวิจัยหลักสูตรและการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ชอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ. (2551). มโนทัศน์การศึกษาในอิสลาม. หาดใหญ่ : โรงพิมพ์ชานเมือง
ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2561). หลักการจัดการเรียนรู้.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐวุฒิ กิจรุ่งเรืองและคณะ. (2545). ผู้เรียนเป็นสำคัญและการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ของครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์
ดวงกมล สินเพ็ง. (2553). การพัฒนาผู้เรียนสู้สังคมแห่งการเรียนรู้ : การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิเลาะ แวอุเซ็ง. (2559). การจัดการศึกษาในอิสลาม : แนวคิดสู่การปฏิบัติ. ปัตตานี : วิทยาลัยอิสลามศกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
บุญชม ศรีสะอาค. (2546). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริชาสาส์น
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2542). เทคนิคการสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : B&B Publishing.
ปวิชญา เนียมคำ. (2558) การพัฒนาหลักสูตรมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมหนังใหญ่วัดสว่างอารมณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. ปริญญานิพนธ์. ลพบุรี :มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
พรรณี ชูทัย เจนจิต (2545). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : เสริมสิน พรีเพรส ซิสเท็ม
________. (2538). จิตวิทยาการสอน. กรุงเทพฯ : คอมแพคท์พริ้นท์
พิสณุ ฟองศรี (2554). การประเมินทางการศึกษา : แนวคิดสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด
________. (2551). การประเมินทางการศึกษา : แนวคิดสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : เทียมฝ่าการพิมพ์.
พิชิตฤทธิ์จรูญ. (2550). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรงเทพฯ : เฮ้าส์ออฟเคอร์มิสท์
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2562). หลักคิด การจัดการหลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วัชรี เกษพิชัยณรงค์ และคณะ. (2555). การเรียนเชิงรุกและเทคนิควิธีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนเชิงรุก. กรุงเทพฯ : สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล.
วิชัย ประสิทธิ์วุฒิเวชช์. (2542). การพัฒนาหลักสูตร สานต่อที่สังคม. กรุงเทพฯ : บริษัทเซ็นเตอร์ ดอสคัฟเวอรี จำกัด
แวบือราเฮง แวหะยี. (2558). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น สาระอัลฟิกฮฺ เรื่อง การจัดการศพตามหลักสูตรอิสถามศึกษาแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรีขนบำรุงศาสน์วิทยา ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามันจังหวัดยะลา. ปริญญานิพนธ์. ยะลา :มหาวิทยาลัยราชภัฎะลา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. (2556). การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2552). การวัดผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ราตรี นันทสุคนธ์. (2553). หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา.กรุงเทพฯ : จุดทอง จำกัด.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2553). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ศศิธร เวียงวะลัย (2556). การจัดการเรียนรู้ (Learning Maanagement). กรงเทพฯ : โอเดียนสโตร์
สมจิต จันทร์ฉาย. (2557). การออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอน.นครปฐม : บริษัท เพชรเกษม พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด.
สุมาลี จันทร์ชะลอ. (2552). การวัดและประเมินผล. กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดีจำกัด.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2559). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุวิทย์ มูลคำและคณะ. (2549). การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการคิด.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำลี รักสุทธี. (2553). คู่มือการจัดทำสื่อนวัตกรรมและแผนฯประกอบสื่อนวัตกรรม. นนทบุรี : โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์.
สมาคมนักเรียนเก่าอาหรับประเทศไทย. (1419 ฮ.ศ.). พระมหาคัมภีร์อัลกุรอ่านพร้อมความหมายภาษาไทย. ศูนย์กษัตร์ฟะฮัดเพื่อการพิมพ์อัลกุรอาน. อัลมาดีนะห์ อัลมูเนาวาเราะห์ ราชอาณาจักร ซาอุดีอาราเบีย.
อนุวัติ คูณแก้ว. (2558). การวัดผลและประเมินผลทางการศึกษาแนวใหม่. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อาหามะ แบฆอ. (4 กุมภาพันธ์ 2563). กรรมการอิสลามประจำจังหวัดปัตตานี. สัมภาษณ์.
อัชรา เอิบสุขสิริ. (2561). จิตวิทยาสำหรับครู. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อับดุลรอแม สุหลง. (2561). สถาบันปอเนาะ : กรณีศึกษาหลักสูตรและการสอนในอดีตและปัจจุบัน. มหาวิทยาลัยราขภัฏยะลา : คณะครุศาสตร์.
อาภรณ์ ใจเทียง. (2550). หลักการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์.
อิบรอเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต. (2551). ประวัติการศึกษาอิสลาม. ภาควิชาอิสลามศึกษาวิทยาลัยอิสลามศึกษา : หาดใหญ่กราฟฟิก.
อุไรรัตน์ ยามาเร็ง. (2562). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม สำหรับผู้สอนตาดีกาในจังหวัดยะลาเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรอิสลามศึกษาระดับสถานศึกษา ตามหลักสูตรอิสลามศึกษาฟัรฏูอีนประจำมัสยิด ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ) พุทธศักราช 2559. มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา : คณะครุศาสตร์
แฮรี่ นูร อาลี. (2558) แปลโดยฮาเร๊ะ เจ๊ะโด. ปัตตานี : อิกเราะมีเดีย.
Abdullah bin Abdurrahman. (1936). Almuqaddimah Alhadramiah. al-Qahirah :MaktabahMusafa al-Babi al-Halabiwaaulad.
AbiMuhammadAbdullahbinAhmadbinMuhammadbinQudamahAlmukaddisi. (1994). Almugnialamuktasaralkharaki. Darulkutubalilmiah Birut-lubnan.
Abusyujak, Alhusain Ahmad al-Asfahani. (1955 ). Matan alghayahattakrib. Alqahirah : Matbaahmusafaalbabi al-halabiwaaulad.
Alalamah AbiBakrin OsmanbinMuhammadshatadumyatilkubra. (1995). Hasiaheannahtalibin. Darulkutub Alelmih Birut - lubnan
AlemamabiAbdullahMuhammadbinIdrisAshafie. (1993). Alom Darulkutubalilmiah Birut - lubnan.
Asaiyidsabiq. (1994) fiqassunnah. Darulfathililaalamialarabi.
AsshikShamsuddinMuhammadbinMuhammadkhatibasharbini. (1994). Aliqnak. Darulkutubalilmiah Birut-lubnan.
AssaiyidAbdulrahmanbinMuhammadbinHusenbinumar (1995). Buqyatulmustarashidin. Darulfikri Birut-lubnan.
AsshikIbrahimAlbajuri. HashiahalbajurialaibniQasimalgaza. Darulhayailkutubilarabiati.
AshikMuhammadabdulAzizalkhalidi. (1996) Hawashiasharwaniwaibniqasimalebadi. Darulkutubalilmiah Birut-lubnan.
AsshikIbrahimAlbajuri. HashiahalbajurialaibniQasimalgaza. Darulhayailkutubilarabiati
Hisyamalkamil Hamid. (2011). Al imtak. Qahirah :Darulmanar.
Imamnawawiabizakaria Yahya bin sharfu al-Nawawi. (2000). RaudatuAttalibin. Damsyik : Daru al-kutubalilmiah.
Lialaiddinassamarkondi (1993). Tahfatulfuqaha. Darulkutubalilmiah Birut-lubnan.
MutafaAlkhin. (2017). AlfikhuAlmanhaji.Damsyik : Daru al-Qalam.
Sairibnu Muhammad baali. (2013). SyrarhumuqaddimahAlhadramiah. Qahirah : al-Maktab al-Islamiah.
ShahabuddinAhmadbinMuhammadbinMuhammadbinAliibnihajarlmakialhaimi. (1997). Alfatawalkubraalfiqhiah Darulkutubililmiah. Birut – lubnan.
ShamsuddinMuhammadbinMuhammadalkhatibasharbini. (1994). Mugnilmuhtaj. Darulkutubalilmiah Birut-lubnan.
ShikulislamabiYahyazakariya (1990). Fathulallam. Darulkutubalilmiah Birut-lubnan.
Taba, Hilda. (1962). Curriculum Development :Theory and Practice. New York: HarcourtBrace and World.
Taqiyuddin, (1991). Kifayatualakhyar. Makkah : Mustafa albaz.
Wahbahalzuhai. (1997). FiqhualIslam. Altabaahalrabiah. Damsyik : Darualfikri.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-06

How to Cite

สลิมิง ม., สุหลง อ., & เฮงยามา ม. . (2021). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การอ่านคุฏบะฮฺ สำหรับนักเรียน ชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปีที่ 2. วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ, 11(22), 371–386. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HIKMAH/article/view/247927