วิถีครูกับการพัฒนากรอบความคิดศิษย์
Main Article Content
Abstract
Mindset affects an individual’s behavior and attitude. Different mindset leads to different characteristics. When there is a challenge, people will different mindset will have different point of view and action such as attempt, attitude toward the challenge, and failure. These play an important role in the life success. Dweck (2006) had classified mindset into 2 types. The first one is growth mindset. Individuals with growth mindset can be developed by learning and value the problems and obstacles as an opportunity to learn and improve. The second type is fixed mindset. Individuals with fixed mindset believe that human’s intelligence cannot be developed and skills cannot be improved. Anyway, an individual may have both types of mindset but one of them will be prominent. In addition, mindset can be changed or improved. Besides an individual, parents and teachers are important people who assist in the development of the individual’s mindset. Teachers are example for having growth mindset. Teachers teach students to have a growth mindset focusing on the process and reflection of learning and teaching procedure. In addition, teachers also motivate student to learn things and compliment to their attempt in learning as well as reducing the comparison in students. Teacher’s way to develop or create the growth mindset for students encourage the students to study enthusiastically with high chance to be successful in life. It is because students believe that their ability can be improved or created. Therefore, they pay attention in studying and improve themselves at their full capacity to be ready to have an ultimate success in their life in the future.
กรอบความคิดเป็นสิ่งที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมและทัศนคติของบุคคล การมีกรอบความคิดแตกต่างกันจะส่งผลให้บุคคลมีคุณลักษณะแตกต่างกันหลายประการ เมื่อพบกับสิ่งท้าทายหรืออุปสรรคจะมีมุมมองและการแสดงพฤติกรรมแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นความพยายาม ทัศนะที่มีต่อความท้าทาย ความล้มเหลว ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีผลสำคัญต่อการประสบความสำเร็จในชีวิต Dweck (2006) ได้แบ่งกรอบความคิดออกเป็น 2 ประเภท คือ กรอบความคิดแบบเติบโต เชื่อว่ามนุษย์พัฒนาได้ และความสามารถสร้างได้ด้วยการเรียนรู้ มองว่าปัญหาและอุปสรรคเป็นโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนา และกรอบความคิดแบบจำกัด เชื่อว่าความฉลาดของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไม่ได้และไม่สามารถเพิ่มพูนทักษะความสามารถได้ ทั้งนี้ บุคคลสามารถมีกรอบความคิดทั้ง 2 ประเภท แต่จะมีความโน้มเอียงไปทางด้านใดด้านหนึ่งมากน้อยแตกต่างกันไป นอกจากนั้นกรอบความคิดยังสามารถเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาได้ บุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนากรอบความคิดนอกจากตัวบุคคลเองและพ่อแม่แล้ว ยังมีครูเป็นอีกบุคคลหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการช่วยพัฒนากรอบความคิดของศิษย์ โดยครูเป็นแบบอย่างของการมีกรอบความคิดแบบเติบโต สอนให้เด็กเข้าใจเรื่องกรอบความคิดแบบเติบโต ให้ความสำคัญกับกระบวนการและผลสะท้อนกลับในกระบวนการเรียนการสอน รวมทั้งการสร้างแรงจูงใจในการเรียน ชื่นชมในความพยายาม ลดการเปรียบเทียบ จะเห็นได้ว่าวิถีของครูในการพัฒนาหรือการปลูกฝังกรอบความคิดแบบเติบโตให้กับศิษย์จะทำให้ศิษย์มีความกระตือรือร้นที่จะเรียนและมีโอกาสที่จะประสบความสำเร็จสูง เพราะศิษย์มีความเชื่อว่าความสามารถนั้นพัฒนาหรือสร้างขึ้นมาได้ จึงตั้งใจเรียนรู้และพัฒนาตนอย่างเต็มศักยภาพพร้อมที่จะก้าวไปสู่การดำเนินชีวิตที่ประสบความสำเร็จสูงสุดในอนาคต
Article Details
All submitted articles are subject to academic validation by qualified experts (peer review). The opinions expressed in each article of this publication are those of the authors themselves. The editorial board holds no responsibilities on them and does not reserve the copyright for academic use with the condition that the reference of their origin is cited.