เศรษฐกิจชุมชน: การสะสมทุนชุมชนเพื่อความอยู่รอดในสถานการณ์ปัจจุบัน

Main Article Content

ทศพร แก้วขวัญไกร

Abstract

A community economy is important for the existence of people in communities that need to build a foundation for security and immunity from the competition of liberal capital coming domestically and globally. People in the community will resist liberal capital needs to be empowered by people in the community themselves by tapping the fiber create the power for the community economy. What is necessary is capital accumulation from the empowerment of community capital for greater power. The empowerment drives the community economy to create immunity from the economy outside Capital accumulation would let the community survive in the present situation and be sustainable with the local economy of the world.


 


บทคัดย่อ


เศรษฐกิจชุมชนมีความสำคัญต่อการดำรงอยู่ของคนในชุมชนที่ต้องสร้างฐานรากเพื่อความมั่นคง ให้มีภูมิคุ้มกันต่อการแข่งขันของทุนเสรีนิยมที่เข้ามาจากทั้งในประเทศและต่างประเทศ การที่คนในชุมชนจะต้านทานทุนเสรีนิยมดังกล่าวได้นั้น จะต้องมีการสร้างพลังจากคนในชุมชน ด้วยการสร้างพลังของเศรษฐกิจชุมชนให้มี กำลังและมีความเข้มแข็ง สิ่งสำคัญ คือ การสะสมทุนจากการสร้างพลังทุนชุมชนให้มีกำลังเพิ่มขึ้น เพื่อนำมาขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชนในการสร้างภูมิคุ้มกันต่อการเข้ามาของเศรษฐกิจภายนอกชุมชน ซึ่งวิถีแห่งการสะสมทุนจะนำพาซึ่งความอยู่รอดในสถานการณ์ปัจจุบัน และมีความยั่งยืนอย่างเป็นเอกภาพกับเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่นของโลก

Article Details

Section
บทความวิชาการ (Academic Article)

References

กิตติภูมิ วิเศษศักดิ์. (2552). การพัฒนาทุนมนุษย์ในการปรับเปลี่ยนไปสู่องค์กรสมัยใหม่หรือองค์กรสมรรถนะสูง. กรุงเทพฯ: สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ทศพร แก้วขวัญไกร. (2556). เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น. บุรีรัมย์: ซีพี พิมพ์.

ทศพร แก้วขวัญไกร, และ จตุพร จันทารัมย์. (2559). ศึกษาความสัมพันธ์ของการเพิ่มทุนมนุษย์, พัฒนาเศรษฐกิจและการศึกษาต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กรณีในเขตพื้นที่ชุมชนเมืองจังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 11(พิเศษ), 98-106.

สำนักสนับสนุนขบวนองค์กรชุมชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน). (2558). คู่มือสนับสนุนการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและทุนชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักสนับสนุนขบวนองค์กรชุมชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน).

สุริยจรัส เตชะตันมึนสกุล, และ เฉลิมชัย ปัญญาดี. (2554). อิทธิพลของการบริหารจัดการที่ดีและการสร้างทุนทางสังคมต่อความสามารถในการสนับสนุนการสะสมทุนของชุมชนตามแนวพระราชดำริ โดยธนาคารหมู่บ้านภาคเหนือตอนบน. จาก https://www.ar.or.th/ImageData/Magazine/29/DL_167.pdf?t=635979516966610609

อรุณ จิตตะเสโน. (2551). หลักการและวิธีการบริหารจัดการชุมชน (เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุมชนในโครงการวิจัยและพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สุขภาวะองค์รวมภายใต้แผนสุขภาพ จังหวัดสงขลา). สงขลา: สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

Adler, P. S., & Kwon, S. W. (2002). Social capital: Prospects for a new concept. The Academy of Management Review, 27(1), 17-40.

Falk, I., & Kilpatrick, S. (2000). What is social capital? A study of interaction in a rural community. Sociologia Ruralis, 40(1), 87-110.

Glaeser, E. L., Laibson, D., & Sacerdote, B. (2002). An economic approach to social capital. The Economic Journal, 112(483), F437-F458.

Jacobs, C. (2007). Measuring success in communities: Understanding the community capitals framework. Extension Extra Community Capitals Series 1-8. Retrieved from https://agron-www.agron.iastate.edu/Courses/agron515/Capitals Extension%20Extra.pdf

Jones, T. (2013). Community capital and the role of the state: An empowering approach to personalization. People, Place and Policy, 7(3), 153-167

Kilpatrick, S., Field, J., & Falk, I. (2003). Social capital: An analytical tool for exploring lifelong learning and community development. British Educational Research Journal, 29(3), 417-433.

Kristine, B. (2011). Enterprise related social capital: Different levels of social capital accumulation. Economics & Sociology, 4(2), 66-83.

Sustainable Measures. (2018). Key term: Community capital. Retrieved from https://www.sustainablemeasures.com/node/32

The Reconsider Team. (2013). Community capital and alternative financing resource guide: Exploring the methods for aggregating and disseminating community capital to spur diversified economic development. Community Capital Resources: University of Michigan.

Woolcock, M. (1998). Social capital and economic development: Toward a theoretical synthesis and policy framework. Theory and Society, 27, 151-208.